หลักการนับเบื้องต้น

หลักการนับเบื้องต้น กฎการบวก ถ้า งานที่หนึ่งมี n1 ทางเลือก งานที่สองมี n2 ทางเลือก และงานที่หนึ่งและงาน ที่สองเป็นอิสระต่อกัน จ านวนทางเลือกในการท างานทั้งหมดมี n1+ n2 ทางเลือก จากกฎการบวกข้างต้นสามารถขยาย เป็นกฎการบวกรูปทั่วไป ดังนี้

อ่านต่อ
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม : เรื่อง การประยุกต์ของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผลิตขึ้นเพื่อให้ครูในโรงเรียนทั่วประเทศได้ใช้ประกอบการสอนวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้เครื่องคำนวณวิทยาศาสตร์ ให้นักเรียนนำความรู้เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมไปใช้ในการแก้ปัญหาต่างๆ รวมถึงมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์มากขึ้น

อ่านต่อ
คณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 

คณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 

คณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 คณิตศาสตร์ ประกอบด้วย 8 บทมีดังนี้ อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีที่สูงกว่าสอง สมการกำลังสองตัวแปรเดียว ความคล้าย

อ่านต่อ
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรโดยการกำจัดตัวแปร

การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรโดยการกำจัดตัวแปร

การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรโดยการกำจัดตัวแปร การแก้สมการเชิงเส้นโดยการกำจัดตัวแปรนั้น เป็นวิธีการที่ทำให้สัมประสิทธิ์ของตัวแปรที่ต้องการกำจัดเป็นจำนวนเดียวกัน หรือเป็นจำนวนตรงข้าม แล้วอาศัยสมบัติของการลบ หรือการบวกตามลำดับ จะทำให้ตัวแปรนั้นหมดไป จะได้สมการใหม่ที่เหลือตัวแปรเดียว แล้วแก้สมการหาค่าตัวแปรตัวนั้น

อ่านต่อ
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร

คณิตศาสตร์ ม.3  ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร -กราฟเส้นตรง

คณิตศาสตร์ ม.3  ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร -กราฟเส้นตรง กราฟเส้นตรง เมื่อกำหนด x และ y เป็นตัวแปร และ A , B และ C เป็นค่าคงตัว โดย A และ B ไม่เป็นศูนย์พร้อมกัน จะได้สมการเส้นตรงอยู่ในรูปทั่วไปที่เรียกว่า สมการเชิงเส้นสองตัวแปร คือ Ax + By + C = 0

อ่านต่อ

เวกเตอร์และสเกลาร์-ฟิสิกส์

เวกเตอร์และสเกลาร์ ปริมาณเวกเตอร์ (Vector  quantity)  คือ ปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง  จึงจะได้ ความหมายที่ชัดเจน เช่น  แรง  ความเร็ว  น้ำหนัก  ความเร่ง  โมเมนต์  การขจัด สนามแม่เหล็ก ความดัน

อ่านต่อ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม

คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.3 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม

การแยกตัวประกอบพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสอง พหุนาม คือ อะไร พหุนาม คือ เอกนามหรือจำนวนที่เขียนอยู่ในรูปการบวก ของเอกนาม ตั้งแต่สองเอกนามขึ้นไป เอกนามในพหุนาม เรียกว่า พจน์ เช่น 3×3 -x2 + 6   หรือ  3×3 +( -x2 )  + 6 เป็นพหุนาม   พจน์ที่ 1  คือ 3×3 พจน์ที่ 2  คือ    -x2 พจน์ที่ 3 คือ    6 พหุนาม คือ นิพจน์ที่อยู่ในรูปเอกนาม หรือเขียนอยู่ในรูปการบวกกันของเอกนามตั้งแต่สองเอกนามขึ้นไปได้ เช่น x³ + 8 x² – 2x – 1 ดีกรีของพหุนาม คือ ดีกรีสูงสุดของพจน์ของพหุนามในรูปผลสำเร็จ เช่น x…

อ่านต่อ
สมบัติของเซตและสับเซตที่น่าสนใจ

สมบัติของเซตและสับเซตที่น่าสนใจ

สมบัติของเซตที่น่าสนใจ นิยามของเซต เซต คือ คำที่ใช้บ่งบอกกลุ่มของสิ่งต่าง ๆ ทำให้ทราบว่าเมื่อพูดถึงกลุ่มใดแล้วก็จะทราบได้อย่างแน่นอนว่าสิ่งใดอยู่ในกลุ่ม และสิ่งใดไม่อยู่ในกลุ่ม โดยจะเรียกสิ่งที่อยู่ในเซตว่า สมาชิกของเซต เช่น เซตของอักษรสระในภาษาอังกฤษ หมายถึง กลุ่มของอักษร a, e, i, o, และ u จำนวนสมาชิกเซต A เขียนแทนด้วย n(A) a เป็นสมาชิกของเซต A เขียนแทนด้วย a ∈ A b ไม่เป็นสมาชิกของเซต A เขียนแทนด้วย b ∉ A **สมบัติของสับเซตที่น่าสนใจ A ⊂ A (เซตทุกเซตเป็นสับเซตของตัวมันเอง) A ⊂ U (เซตทุกเซตเป็นสับเซตของเอกภพสัมพัทธ์) ø ⊂ A (เซตว่างเป็นสับเซตของทุกๆ เซต) ถ้า A ⊂ ø แล้ว A =…

อ่านต่อ
การดำเนินการของเซต (Operation of set)

การดำเนินการของเซต (Operation of set)- คณิตศาสตร์ ม.4

การดำเนินการของเซต (Operation of set) เอกภพสัมพัทธ์ (Relative Universe) คือ เซตที่ใช้กำหนดขอบเขตของสิ่งต่าง ๆ ที่จะกล่าวถึง โดยมีข้อตกลงว่าจะไม่กล่าวถึงสิ่งอื่นใดซึ่งนอกเหนือจากสิ่งที่เซตนี้กำหนดไว้ เขีนแทนด้วย U ถ้ากล่าวถึงเซตของจำนวนโดยไม่กำหนดเอกภพสัมพัทธ์ ให้ถือว่าเอกภพสัมพัทธ์คือเซตของจำนวนจริง

อ่านต่อ