อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนาและถูกเปลี่ยนแปลงในกลไกต่างๆและถูกพัฒนาระบบของการเชื่อมโยงที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ในยุคปัจจุบันอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่างๆมีลักษณะราคาหรือไม่เช่นรูปแบบการใช้งานในส่วนของการประมวลผลหรือแม้แต่จะเป็นการทำงานอย่างซับซ้อนที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
งานที่มีลักษณะที่แตกต่างกัน อุปกรณ์คอมพิวเตอร์มีโครงสร้างและการพัฒนาระบบต่างๆที่ไม่เหมือนกันรวมถึงการประมวลผลที่มีความแม่นยำในยุคปัจจุบันก็มีการพัฒนามากยิ่งขึ้นนี่จึงเป็นสิ่งสำคัญที่แสดงให้เห็นว่าในยุคปัจจุบันมนุษย์มีการเรียนรู้และพัฒนาระบบในการทำงานต่างๆรวมถึงโครงสร้างข้อมูลต่างๆมากมายที่ถูกพัฒนาเปลี่ยนแปลงอย่างมีประสิทธิภาพ
ที่ต้องการความรวดเร็วในการทำงานหรือไม่ใช่เป็นการพัฒนารูปแบบในการเชื่อมโยงมากมายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์จึงแบ่งเป็นประเภทต่างๆที่มีสมรรถภาพในการทำงานที่แตกต่างกันไปการควบคุมดูแลของการพัฒนาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในส่วนต่างๆนี้ก็มีมากมาย
ไม่ว่าจะเป็นระบบของการใช้ซอฟต์แวร์ต่างๆ เป็นในส่วนของการ พัฒนาในส่วนของฮาร์ดแวร์ ก็มีความจำเป็นจะต้องมีการพัฒนาเช่นเดียวกัน ระบบในการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาของคราวลิงค์ข้อมูลต่างๆอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
หรือแม้แต่จะเป็นเวอร์ชันคอมพิวเตอร์ในยุคปัจจุบันก็มีการพัฒนา รูปแบบให้มีการใช้งานมากขึ้นเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มินิคอมพิวเตอร์ ไมโครคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ต่างๆเหล่านี้มีการใช้งานที่แตกต่างกันออกไปรวมถึงวิวัฒนาการของมนุษย์ที่มีความต้องการในการใช้งานของรูปแบบในการทำงานของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์มากมาย
โดยเฉพาะในส่วนของการทำธุรกิจมากมาย ที่อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เข้ามามีปัจจัยอย่างนี้ในการพัฒนาโครงสร้างการเรียนรู้รูปแบบ ให้มีการพัฒนาในระบบอุตสาหกรรมต่างๆการเรียนรู้รูปแบบของโครงสร้างการวิวัฒนาการของรูปแบบการทำงานและการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีมากมาย การเปลี่ยนแปลงของจีนตอนนี้คือการพัฒนารูปแบบที่ทำให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพ
การจัดองค์การ และการรักษาความปลอดภัยสำหรับระบบสารสนเทศ
ประโยชน์ของการจัดองค์กร
1. ทำให้การบริหารงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
2. ทำให้งานทุกอย่างในองค์กรดำเนินไปด้วยความสำเร็จด้วยดี
3. ทำให้ประหยัดและคุ้มค่าเพราะไม่เกิดปัญหาความซ้ำซ้อนและความล่าช้า
4. ทำให้องค์กรสามารถพัฒนาและเจริญเติบโตต่อไป
5. ทำให้สมาชิกเกิดการร่วมแรงร่วมใจกันทำงาน
6. ทำให้สมาชิกในองค์กรมีขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน
บุคลากรในองค์กรระบบสารสนเทศแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ
1. บุคลากรในวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศ
2. บุคลากรทางการบริหารสารสนเทศ
3. บุคลากรในวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศ
บุคลากรในวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer Operator) ทำหน้าที่ควบคุมและดูแลเครื่องคอมพิวเตอร์
ผู้บันทึกข้อมูล (Data Entry Operator) ทำหน้าที่ป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อนำไปประมวลผลต่อไป
ผู้เขียนโปรแกรมประยุกต์ (Application Programmer) ทำหน้าที่เขียนโปรแกรมสั่งงานคอมพิวเตอร์
ผู้ควบคุมโปรแกรมระบบ (System Programmer) ทำหน้าที่ดูแลการทำงานของโปรแกรมระบบ
นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) ทำหน้าที่ในการศึกษาและประเมินผลระบบการทำงานในปัจจุบันของหน่วยงาน วิเคราะห์และออกแบบระบบงานของหน่วยงาน
นักออกแบบฐานข้อมูล (Database Designer) ทำหน้าที่ออกแบบฐานข้อมูลในระบบงาน
ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator) ทำหน้าที่จัดการประสานงาน และควบคุมดูแลฐานข้อมูลขององค์กร
วิศวกรคอมพิวเตอร์ (Computer Engineer) ทำหน้าที่ดูแลและแก้ไขปัญหาการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
พนักงานด้านการสื่อสารข้อมูล (Data Communication Supervisor) ทำหน้าที่ติดตั้งและดูแลการทำงานของอุปกรณ์ด้านการสื่อสารข้อมูล
ผู้เชี่ยวชาญด้านการสื่อสารข้อมูลหรือผู้เชี่ยวชาญด้านเครือข่าย (Data Ccommunication or Network Specialist)
ทำหน้าที่ในการออกแบบระบบการสื่อสารข้อมูลในระบบสารสนเทศ
นักวิเคราะห์สารสนเทศ หรือผู้ประสานงานด้านผู้ใช้ (Information Analyst or User Liaison) ทำหน้าที่ประสานงานและศึกษาความต้องการของผู้ใช้งานจากระบบสารสนเทศของผู้ ใช้
บุคลากรทางการบริหารสารสนเทศ บุคลากรที่ทำหน้าที่ทางการบริหารงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามที่กำหนดกันในปัจจุบัน มีดังนี้
CIO (Chief Information Officer) เป็นผู้บริหารระดับสูงของงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มีหน้าที่และความรับผิดชอบในการกำหนดนโยบายเกี่ยวกับการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้ในองค์กร
MIS Manager or Director ผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำหน้าที่ในการจัดการและควบคุมดูแลการทำงานของระบบสารสนเทศทั้งหมดขององค์กร
IS Executive เป็นผู้ที่รับผิดชอบในการจัดการ และควบคุมการทำงานด้านระบบสารสนเทศภายในหน่วยงาน
การจัดตั้งหน่วยงานเพื่อรองรับระบบสารสนเทศในองค์กร
มีวัตถุประสงค์ในการดูแลบำรุงรักษาระบบสารสนเทศ ให้ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้หน่วยงานที่ทำหน้าที่ดังกล่าว คือ “หน่วยงานระบบสารสนเทศ (Information System Unit หรือ IS Unit)” ในการจัดตั้งสามารถจัดตั้งได้ 3 ลักษณะคือ
1. หน่วยงานระบบสารสนเทศแบบรวมศูนย์
2. หน่วยงานระบบสารสนเทศแบบไม่รวมศูนย์
3. หน่วยงานระบบสารสนเทศแบบกระจาย
หน่วยงานระบบสารสนเทศแบบรวมศูนย์ (Centralized Information System Unit) มีหน้าที่ดังนี้
กำหนดแผนกลยุทธ์และแผนดำเนินการในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้
ดำเนินการพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเครื่องมือเครื่องใช้
ออกแบบสร้างฐานข้อมูลที่จะสามารถใช้งานร่วมกันได้ทุกหน่วยงาน
ดูแลการปฏิบัติงานโดยรวมของระบบที่ได้พัฒนาให้กับหน่วยงาน
ออกแบบและสร้างระบบการสื่อสารข้อมูลหรือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขององค์กร
ข้อดี คือ สามารถควบคุมดูแลข้อมูลการดำเนินงานของระบบสารสนเทศตลอดจนการรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมูลขององค์กรได้เป็นอย่างดี
ข้อเสีย คือ การพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์ให้กับฝ่ายต่าง ๆ ใช้เวลานาน
หน่วยงานระบบสารสนเทศแบบไม่รวมศูนย์ (Decentralized Information System Unit)หน้าที่และความรับผิดชอบของหน่วยงานระบบสารสนเทศแบบไม่รวมศูนย์ คือ
วางแผนในการนำเทคโนโลยีสารสนทศมาใช้ในหน่วยงานของตน
พัฒนาระบบสารสนเทศให้กับหน่วยของผู้ใช้ที่ได้สังกัดอยู่
ดูแลฐานข้อมูลระบบสารสนเทศของหน่วยงาน
ให้คำปรึกษาต่อการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในงานของผู้ใช้
ข้อดี คือ สามารถพัฒนาระบบสารสนเทศได้ตามความต้องการของหน่วยงานผู้ใช้
แนวคิดในการรักษาความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ
เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายต่อระบบ ซึ่งสามารถจัดประเภทของความเสียหายกับระบบสารสนเทศได้ดังนี้
1. ความเสียหายที่เกิดจากการกระทำโดยเจตนาของมนุษย์ – การก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ การขโมยข้อมูล
2. ความเสียหายเนื่องจากภัยธรรมชาติ – ไม่ว่าจะเป็นไฟไหม้ ฟ้าผ่า พายุ เป็นต้น
3. ความเสียหายเนื่องจากขาดระบบป้องกันทางกายภาพ (Physical Security) – การขาดระบบการป้องกันที่ดี ในทางการวางระบบคอมพิวเตอร์
4. ความเสียหายเนื่องจากความบกพร่องของระบบสภาพแวดล้อม ของสารสนเทศ – ความเหมาะสมของอุปกรณ์ต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับเครื่องคอมพิวเตอร์
5. ความเสียหายเนื่องจากความล้มเหลวของการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ในระบบสารสนเทศ – ขาดการบำรุงรักษา
6. ความเสียหายเนื่องจากความล้มเหลวของระบบเครือข่าย หรือระบบสื่อสารข้อมูล
7. ความเสียหายเนื่องจากความผิดพลาดจากการทำงานภายในระบบสารสนเทศเอง – เนื่องจากซอฟต์แวร์ โปรแกรม
การรักษาความปลอดภัยให้กับระบบสารสนเทศสามารถแบ่งออกเป็น 3 แนวทาง คือ
1.การวางแผนรักษาความปลอดภัยในเชิงกายภาย (Physical Planning Security)
2.การวางแผนรักษาความปลอดภัยในเชิงตรรกะ (Logical Planning Security)
3.การวางแผนป้องกันความเสียหาย (Disaster Planning Security)
การวางแผนรักษาความปลอดภัยในเชิงกายภาย (Physical Planning Security) เกี่ยวกับสภาพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเครื่องคอมพิวเตอร์ มีดังนี้
1. การจัดการดูแลและป้องกันในส่วนของอาคารสถานที่ทำเลที่ตั้งศูนย์คอมพิวเตอร์ หรือห้องคอมพิวเตอร์การจัดการดูแลและป้องกันภายในศูนย์คอมพิวเตอร์
2. การจัดการดูแลและป้องกันเกี่ยวกับระบบสภาพแวดล้อม
3. การจัดการดูแลและป้องกันในส่วนของฮาร์ดแวร์จัดการดูแลอุปกรณ์เองเรียกบริษัทผู้ขาย หรือบริษัทอื่นดูแลให้เป็นครั้ง ๆ ไปทำสัญญาการบำรุงรักษาอุปกรณ์เป็นรายปีการวางแผนรักษาความปลอดภัยในเชิงตรรกะ (Logical Planning Security) เกี่ยวข้องกับการรักษาความปลอดภัยในเรื่อง ดังนี้
1. การรักษาความปลอดภัยก่อนผ่านข้อมูลเข้าสู่ระบบสารสนเทศ – เป็นการกำหนดสิทธิผู้ใช้ มีรหัสผ่าน
2. การรักษาความปลอดภัยในการใช้ข้อมูลในระบบสารสนเทศ – กำหนดสิทธิของตัวข้อมูลในระดับต่าง ๆ
3. การรักษาความปลอดภัยในการรับส่งข้อมูล – หรือการเข้ารหัสข้อมูลการวางแผนป้องกันความเสียหาย (Disaster Planning Security)มีวิธีการป้องกันดังนี้
1. การจัดเตรียมศูนย์คอมพิวเตอร์สำรอง –
2. การจัดเตรียมข้อมูลสำรอง
3. การจัดเตรียมเรื่องการกู้ระบบหลังจากเกิดการเสียหายขึ้น
4. การวางแผนป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
สนับสนุนโดย gclub มือถือ ทดลองเล่น และ http://pscommunications.org/