คณิตศาสตร์เรื่อง เซตเบื้องต้น
เซตเบื้องต้น George Cantor นักคณิตศาสตร์ผู้ให้กำเนิดทฤษฎีเซ็ตที่มีอิทธิพลต่อคณิตศาสตร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 มาก
เซตเบื้องต้น George Cantor นักคณิตศาสตร์ผู้ให้กำเนิดทฤษฎีเซ็ตที่มีอิทธิพลต่อคณิตศาสตร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 มาก
การให้เหตุผล การให้เหตุผลแบบอุปนัย การให้เหตุผลนี้เอง เป็นกระบวนการหนึ่งในการเรียบเรียงข้อความหรือปรากฏการณ์ต่างๆ (เหตุหรือสมมุติฐาน) ให้เกิดความสัมพันธ์กันเพื่อส่งผลให้ข้อความหรือปรากฏการณ์เหล่านั้นมีความต่อเนื่องกันจนทําให้เกิดข้อความใหม่หรือปรากฏการณ์ใหม่ (ผลหรือข้อสรุป) ขึ้นมา หรืออาจสรุปได้ว่า กระบวนการให้เหตุผลเป็นกระบวนการทางจิตใต้สำนึกที่เราใช้เป็นเครื่องมือสื่อความหมายที่เรียบเรียง ข้อเท็จจริงที่มีอยู่ก่อนหน้า (เหตุ : Premise ) เพื่อสร้างข้อเท็จจริงใหม่ (ผล : Conclusion) นั่นเอง (การอ้างหลักฐานเพื่อยืนยันว่า “ข้อสรุป” ของเราเป็นความจริง)
เลข ม.4 เซต ยูเนียน อินเตอร์เซกชันและคอมพลีเมนต์ของเซต ยูเนียน (Union) ยูเนียน (Union) มีนิยามว่า เซต A ยูเนียนกับเซต B คือเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต A หรือ เซต B หรือทั้ง A และ B สามารถเขียนแทนได้ด้วย สัญลักษณ์ A ∪ B
พหุนาม-การบวกและการลบพหุนาม พหุนาม นิพจน์ที่อยู่ในรูปเอกนามหรืออยู่ในรูปการบวกของเอกนามตั้งแต่ 2 เอกนามขึ้นไป เรียกว่า พหุนาม แต่ละเอกนามในพหุนาม เรียกว่า พจน์ กรณีพหุนามมีบางพจน์คล้ายกัน ต้องรวมพจน์คล้ายเข้าด้วยกัน
พหุนาม เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม เอกนาม เอกนาม คือ นิพจน์ที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปการคูณของค่าคงตัวกับตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป โดยเลขชี้กำลังของตัวแปรแต่ละตัวเป็นศูนย์หรือจำนวนเต็มบวก
ศูนย์และจำนวนเต็มบวก คุณสมบัติของหนึ่ง (1) จำนวนใด ๆ คูณกับ 1 จะได้จำนวนนั้น ๆ
พื้นฐานคณิตศาสตร์ ม.1 เส้นจำนวน (Number Line) ในขณะที่คำจำกัดความสำหรับจำนวนเต็มอาจดูเหมือนไม่จำเป็นสำหรับบางคนมันสามารถทำให้เด็กเข้าใจคุณสมบัติของจำนวนเต็มได้ง่ายขึ้น จำนวนเต็มและจำนวนเต็มไม่เหมือนกัน
เลขยกกำลัง สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ ตัวเลขสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ (คิดว่าภาษาอังกฤษคือ Scientific Notation) นั้นคือการเขียนเลขในรูปที่เป็นเลขทศนิยมหรือจำนวนเต็มที่มีแค่หลักหน่วย คูณกับเลขยกกำลังฐาน 10 เวลาจะย้ายจุดทศนิยมไปข้างหลัง (จากซ้ายไปขวา) เลขยกกำลังจะลดลง แต่เวลาย้ายจุดทศนิยมไปข้างหน้า (จากขวาไปซ้าย) เลขยกกำลังจะเพิ่มขึ้น
การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต การแปลงสภาพทางเรขาคณิต แบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ การเลื่อนขนาน การหมุน การสะท้อน การเลื่อนขนาน (Translation) คือ การเลื่อนทุกจุดในรูปหน่่งไปบนระนาบ ตามแนวเส้นตรงในทิศทางเดียวกันและเป็นระยะทางเท่ากัน เช่น เลื่อนรูปสามเหลี่ยม ABC ไปทางขวา 10 เซนติเมตร ทุกจุดในรูปสามเหลี่ยม ABC ถูกเลื่อนไปอยู่ในรูปสามเหลี่ยม A’B’C’ การหมุน (Rotation) คือ การหมุนทุกจุดในรูปไปบนระนาบรอบจุดหมุนจุดหน่่งในทิศทางเดียวกันด้วยมุมเท่ากันการหมุนรูปใดๆ มีสิ่งที่ต้องรู้ 3 อย่าง คือ จุดหมุน ทิศทางการหมุน และขนาดมุมในการหมุน การสะท้อน (Reflection) คือ การเลื่อนทุกจุดในรูปไปอยู่อีกฝั่งของเส้นสะท้อน (หรือจุดสะท้อน) โดยทุกจุดของรูปที่สะท้อนห่างจากเส้นสะท้อนเป็นระยะทางเท่ากับที่รูปต้นแบบห่างจากเส้นสะท้อน (หลักการเดียวกับกระจกเงา)