ตรรกศาสตร์ การอ้างเหตุผลด้วยวิธีของเวนน์ –ออยเลอร์

ตรรกศาสตร์ การอ้างเหตุผลด้วยวิธีของเวนน์ –ออยเลอร์

ตรรกศาสตร์ การอ้างเหตุผลด้วยวิธีของเวนน์ –ออยเลอร์ การอ้างเหตุผล การอ้างเหตุผลคือ การอ้างว่า เมื่อมีประพจน์ p1,p2,…pn, ชุดหนึ่ง แล้วสามารถสรุปประพจน์ C ประพจน์หนึ่งได้ การอ้างเหตุผลประกอบด้วยส่วนสำคัญสองส่วนคือ เหตุหรือสิ่งที่กำหนดให้ ได้แก่ ประพจน์ p1,p2,…pn, และ ผลหรือข้อสรุป คือ ประพจน์ C โดยใช้ตัวเชื่อม ∧ เชื่อมเหตุทั้งหมด เข้าด้วยกัน และใช้ตัวเชื่อม → เชื่อมส่วนที่เป็นเหตุกับผลดังนี้ (p1 ∧ p2 ∧ … ∧ pn,) → C จะกล่าวว่า การอ้างเหตุผลนี้ สมเหตุสมผล (valid) ถ้ารูปแบบของประพจน์ (p1 ∧ p2 ∧ … ∧ pn,) → C เป็นสัจนิรันดร์ และจะกล่าวว่า การอ้างเหตุผลนี้ ไม่สมเหตุสมผล (invalid) ถ้ารูปแบบของประพจน์ (p1 ∧ p2 ∧ … ∧ pn,) → C ไม่เป็นสัจนิรันดร์ ดังนั้น…

ตรรกศาสตร์ เรื่องสมบัติการสมมูล

ตรรกศาสตร์ เรื่องสมบัติการสมมูล

ตรรกศาสตร์ เรื่องสมบัติการสมมูล ประพจน์ที่สมมูล ประพจน์ที่สมมูลกัน คือ ประพจน์ที่มีค่าความจริงเหมือนกันทุกกรณี เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ “≡” ค่าความจริงของประพจน์ p→q และ ∼q→∼p จากตารางค่าความจริง

ปฏิบัติการมูลฐาน

รากที่ n และ ปฏิบัติการมูลฐาน

รากที่ n และ ปฏิบัติการมูลฐาน รากที่ n สำหรับความหมายอื่น ดูที่ รูต ในทางคณิตศาสตร์ รากที่ n ของจำนวน x คือจำนวน r ที่ซึ่งเมื่อยกกำลัง n แล้วจะเท่ากับ x นั่นคือ