ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4 (Mathematical Logic ) ในเรื่องตรรกศาสตร์นี้ เราจะสนใจหาว่า ประโยคต่างๆ เป็นจริง หรือ เท็จแต่ก่อนอื่น ต้องรู้ว่า ไม่ใช่ทุกประโยค ที่จะเอามาหาความจริงได้
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4 (Mathematical Logic ) ในเรื่องตรรกศาสตร์นี้ เราจะสนใจหาว่า ประโยคต่างๆ เป็นจริง หรือ เท็จแต่ก่อนอื่น ต้องรู้ว่า ไม่ใช่ทุกประโยค ที่จะเอามาหาความจริงได้
การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ (โพรเจกไทล์) การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ หมายถึง การเคลื่อนที่ของวัตถุที่ประกอบด้วยการเคลื่อนที่ 2 แนวตั้งฉากกัน และเกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน เช่น การขี่จักรยานผาดโผน เป็นเส้นทางโค้งจากเนินด้านหนึ่งไปยังเนินอีกด้านหนึ่ง การเคลื่อนที่ของวัตถุที่ถูกขว้างขึ้นไปในอากาศในแนวที่ทำมุม θ ใด ๆ กับแนวราบด้วยอัตราเร็ว u เราสามารถวิเคราะห์ความเร็วการเคลื่อนที่ของวัตถุออกมาได้ดังภาพ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
อัปเดต คณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4/ ม.5/ ม.6) มีเรียนอะไรบ้าง ? คณิตศาสตร์ ม.4 เนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.4 เทอม 1 มี ดังนี้ บทที่ 1 เซต ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเซต แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ การดำเนินการระหว่างเซต คุณสมบัติของการดำเนินการระหว่างเซต การแก้ปัญหาโดยใช้เซต บทที่ 2 ตรรกศาสตร์ ประพจน์ การเชื่อมประพจน์ การหาค่าความจริงของประพจน์ การสมมูลและนิเสธของประพจน์ สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล ตัวบ่งปริมาณและประโยคเปิด บทที่ 3 จำนวนจริง ระบบจำนวนจริง และสมบัติของระบบจำนวนจริง พหุนามตัวแปรเดียว การแยกตัวประกอบของพหุนาม สมการพหุนาม อสมการพหุนาม ค่าสัมบูรณ์ เนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.4 เทอม 2 มีดังนี้ บทที่ 1 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน การใช้ฟังก์ชันในชีวิตจริง กราฟของฟังก์ชัน…
คณิตศาสตร์ ม.ต้น (ม.1/ม.2/ ม.3) เรียนอะไรบ้าง ? คณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1
ปฏิทิน TCAS67 รายละเอียดกำหนดการในแต่ละรอบปฏิทินการสมัครสอบและปฏิทินการสอบ
แนะแนวสอบเข้ามหาลัยฯ สนามต่างๆ A-Level 67 คณิต 1,2 – ไทย – สังคม / TPAT1 กสพท / TGAT2,3 / SAT MATH A-Level คณิต 1,2
เคมี ม.6 เรื่องพอลิเมอร์ พอลิเมอร์ (polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยเล็กๆ ของสาร (repeating unit) ที่อาจจะเหมือนกันหรือต่างกันมาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะเคมี เรียกว่า พันธะโควาเลนต์ (Covalent bond) 1.มอนอเมอร์(monomer) คือ หน่วยเล็กๆ ในพอลิเมอร์
โมลและสูตรเคมี มวลอะตอม เนื่องจากอะตอมมีขนาดเล็กมาก มวลของอะตอมก็น้อยมากเช่นกัน การที่จะวัดมวลอะตอมจึงทำได้ยาก ดังนั้นจึงได้มีการนิยามมวลอะตอม (atomic mass) เป็นมวลอะตอมสัมพัทธ์ (relative atomic mass) เปรียบเทียบกับธาตุที่กำหนด โดยเริ่มแรกนั้น ดอลตัน (John Dalton) ได้กำหนดให้
พันธะเคมี(Chemical Bond) พันธะเคมี (Chemical Bonding) คือ แรงยึดเหนี่ยวที่เกิดขึ้นระหว่างอนุภาคมูลฐานหรืออะตอม (Atom) ซึ่งเป็นการดึงดูดเข้าหากัน เพื่อสร้างเสถียรภาพในระดับโมเลกุล
เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry) สารประกอบอะโรมาติก คือ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัวที่มีคาร์บอนต่อกันเป็นวง มีจำนวน อิเล็กตรอนเป็น 4n+2 เมื่อ n = 1, 2,3 และอิเล็กตรอนเหล่านี้ไม่อยู่ประจำที่ สารที่เราคุ้นเคยได้แก่ เบนซีน (benzene) มีสูตรเคมี คือ C₆H₆ ซึ่งคาร์บอนทั้งหกอะตอมต่อกันเป็นหกเหลี่ยมและคาร์บอนทุก ๆ อะตอมอยู่ในระนาบเดียวกันและมีจำนวน 6 อิเล็กตรอน