จำนวนเฉพาะและจำนวนประกอบ

ตัวประกอบและตัวประกอบจำนวนเฉพาะ

ตัวประกอบและตัวประกอบจำนวนเฉพาะ ตัวประกอบและตัวประกอบจำนวนเฉพาะ      จำนวนใดก็ตามที่มีตัวประกอบเพียง 2 ตัว คือ 1 และตัวมันเอง เรียกจำนวนนั้นว่า จำนวนเฉพาะ

พื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตร

พื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตร ปริซึม สิ่งของรอบๆ ตัวเราหลายอย่างมีลักษณะเป็นปริซึม เช่น กล่องยาสีฟันมีลักษณะเป็นปริซึมสี่เหลี่ยม กล้องสลับลายมีลักษณะเป็นปริซึมสามเหลี่ยม รวมถึงของใช้ในชีวิตประจำวันอีกมากมาย ในทางคณิตศาสตร์ปริซึมมีลักษณะ ดังนี้

เรื่องสมบัติของเลขยกกําลัง

เรื่องสมบัติของเลขยกกําลัง สมบัติของเลขยกกำลัง ถ้า a , b เป็นจำนวนจริงใด ๆ และ m , n เป็นจำนวนเต็มบวก 1. สมบัติการคูณเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก เมื่อ a เป็นจำนวนใด ๆ และ m, n เป็นจำนวนเต็มบวก amx anx 1 = a (m+ n)  เช่น     23x 27x 29 = 2 (3 + 7 + 9) = 219 2. สมบัติการหารเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก กรณีที่ 1 เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆที่ไม่ใช่ศูนย์ และ m, n เป็นจำนวนเต็มบวกที่ m > n am÷an=4m-n เช่น   …

จำนวนและตัวเลข-ประวัติการนับ และ ความแตกต่างระหว่างจำนวนและตัวเลข

จำนวนและตัวเลข-ประวัติการนับ และ ความแตกต่างระหว่างจำนวนและตัวเลข

จำนวนและตัวเลข 1 ประวัติการนับ ประวัติของตัวเลขเริ่มต้นตั้งแต่ตอนที่มนุษย์รู้จัก  “การเทียบสิ่งของด้วยวิธีหนึ่งต่อหนึ่ง” เช่น เทียบสัตว์ 1 ตัว กับ นิ้วมือ 1 นิ้ว บรรพบุรุษของเราไม่มีตัวเลขแต่ก็รู้จักการนับ สิ่งแวดล้อมต่างๆ ที่คุ้นเคยมักจะถูกนำมาเอามาใช้แทนจำนวนตัวเลข  ที่นิยมมากที่สุด  คือ  นิ้วมือ  เช่น  นิ้วก้อยแทนหนึ่ง นิ้วนางแทนสอง   นิ้วกลางแทนสาม  ศอกแทนแปด  ไหล่แทนเก้า  ไหปลาร้าแทนสิบ         นอกจากนี้ยังมีการวาดรูปสัตว์ต่างๆ แทนจำนวนตัวเลขอีกด้วย แต่เมื่อความต้องการที่จะแลกเปลี่ยนสินค้าเพิ่มขึ้น ความต้องการเกี่ยวกับตัวเลขก็มากขึ้นตามไปด้วย การนับโดยใช้นิ้วหรือสิ่งของมาแทนก็ไม่เพียงพอ  วิธีการแก้ปัญหาในครั้งแรก คือ การใช้ปมเชือก ซึ่งอาจเรียกระบบปมเชือกนี้ว่าเป็นตัวเลขชุดแรกของมนุษย์ก็ได้

การแก้สมการกำลังสองโดยวิธี ทำเป็นกำลังสองสมบูรณ์

การแก้สมการกำลังสองโดยวิธี ทำเป็นกำลังสองสมบูรณ์

การแก้สมการกำลังสองโดยวิธี ทำเป็นกำลังสองสมบูรณ์ แก้โดยทำให้เป็นกำลังสองสมบูรณ์ แต่ในบางครั้งถ้าเราต้องการความรวดเร็วและสะดวก อาจจะใช้สูตรสำเร็จ (formula)  ซึ่งได้มาจากการใช้ความรู้เกี่ยวกับกำลังสองสมบูรณ์และผลต่างของกำลังสอง ซึ่งสามารถพิสูจน์ได้ ดังนี้

ระบบสมการที่ประกอบด้วยสมการเชิงเส้นและสมการดีกรีสอง

ระบบสมการที่ประกอบด้วยสมการเชิงเส้นและสมการดีกรีสอง

ระบบสมการที่ประกอบด้วยสมการเชิงเส้นและสมการดีกรีสอง ระบบสมการของสมการเชิงเส้น และสมการดีกรีสอง คือ ระบบสมการซึ่งประกอบด้วย สมการเชิงเส้นและสมการดีกรีสองซึ่งมีสูตรทั่วไป คือ

สมการเชิงเส้นสองตัวแปร

คณิตศาสตร์เรื่อง สมการเชิงเส้นสองตัวแปร

สมการเชิงเส้นสองตัวแปร “สมการเชิงเส้นสองตัวแปร” คือ สมการของความสัมพันธ์เชิงเส้นที่แสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองชุด หรือตัวแปรสองตัวตามชื่อของมัน โดยใช้ตัวแปร x และ y ที่มีดีกรี 1 และมีรูปทั่วไปของสมการคือ

เรื่องความเท่ากันทุกประการต้องเรียนอะไรบ้าง

เรื่องความเท่ากันทุกประการต้องเรียนอะไรบ้าง

เรื่องความเท่ากันทุกประการต้องเรียนอะไรบ้าง ความเท่ากันทุกประการ   1. ความเท่ากันทุกประการของรูปเรขาคณิต บทนิยามคือ รูปเรขาคณิตสองรูปเท่ากันทุกประการ ก็ต่อเมื่อ เคลื่อนที่รูปหนึ่งไปทับอีกรูปหนึ่งได้สนิท