แหล่งข้อมูลมหัต (Big Data)

แหล่งข้อมูลมหัต (Big Data)

แหล่งข้อมูลมหัต (Big Data) ยุคแห่งการใช้ข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ทุกชนิดที่อยู่ในองค์กรของเราไม่ว่าจะเป็น ข้อมูลบริษัท ข้อมูลลูกค้า พฤติกรรมผู้บริโภค การเข้าออกของธุรกรรมการเงิน ไฟล์เอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด รวมไปจนถึง รูปภาพ URLs ลิงก์ต่าง ๆ ที่เก็บไว้ ฯลฯ ที่มีปริมาณมากจนกระทั่งซอฟต์แวร์ปกติทั่วไปไม่สามารถรองรับการเก็บข้อมูลหรือประมวลผลได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ข้อมูลขนาดใหญ่นี้มีความรวดเร็ว และซับซ้อนจนยากหรือที่จะประมวลผลโดยใช้วิธีการแบบเดิม การเข้า

เนื้อหาเรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น

เนื้อหาเรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น

เนื้อหาเรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น นิยาม ถ้า m และ n เป็นจำนวนเต็ม โดยที่ n≠0 แล้ว n หาร m ลงตัว ก็ต่อเมื่อ มีจำนวนต็ม c เพียงจำนวนเดียวเท่านั้น ซึ่ง m = nc

ประเภทของโฟลเดอร์ และ Folder กับ Directory ต่างกันอย่างไร ?

ประเภทของโฟลเดอร์ 1. Quick File Folder โฟลเดอร์ประเภทนี้จะถูกสแกนด้วยคีย์ Quick File ในแต่ละครั้งที่สร้างจะได้รับชื่อผู้ใช้และชื่อไฟล์แบบค่าเริ่มต้นมาให้

สมบัติทางพีชคณิตของจำนวนเต็ม

สมบัติทางพีชคณิตของจำนวนเต็ม

จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม ประกอบไปด้วยจำนวนธรรมชาติ (1, 2, 3, …) จำนวนลบ (−1, −2, −3, …) และจำนวนศูนย์ เซตของจำนวนเต็มมักเขียนอยู่ในรูป Z (หรือZ ในรูปตัวใหญ่บนกระดานดำ ), ซึ่งมาจากคำว่า Zahlen (ภาษาเยอรมัน). สาขาของคณิตศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบจำนวนเต็มนี้คือ ทฤษฎีจำนวน

ระบบจำนวนธรรมชาติ (System of Natural Numder)ใน ความสัมพันธ์ของระบบจำนวนจริง

จำนวนธรรมชาติเรียกอีกชื้อหนึ่งว่า จำนวนนับ มนุษย์เรียนรู้เกี่ยวกับคำนวณตั้งแต่สมัยดึกดำบรรพ์โดยเริ่มจากจากการนับซึ่งจะนับจำนวนสัตว์ที่ล่ามาเป็นอาหาร จำนวนสิ่งของที่มีอยู่ จำนวนที่ใช้ในการนับคือ 1,2,3,……. จำนวนนับเหล่านี้ในยุคดัน ๆ นับไม่ได้มากนัก และวิวัฒนาการนับได้มากขึ้นในระยะต่อมา จำนวนเหล่านี้เรียกว่า จำนวนธรรมชาติ (Natural Number) กำหนดให้เชตของจำนวนธรรมชาติเขียนแทนด้วย N โดยที่

ระบบจำนวน (Number System)

ระบบจำนวน (Number System)-คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ

ระบบจำนวน (Number System)-คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ ระบบจำนวน (Number System) ความหมายของเลขฐาน เลขฐาน หมายถึง กลุ่มข้อมูลที่มีจำนวนหลัก (Digit) ตามชื่อของฐานนั้นๆเช่น เลขฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบ ประกอบด้วยข้อมูลตัวเลขจำนวนสองหลัก (0-1) แปดหลัก (0-7) และสิบหลัก (0-9) ตามลำดับ ดังตัวอย่าง เลขโดด 10 ตัว ที่เขียนเป็นตัวเลขฮินดูอารบิกได้แก่ 0 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 8 และ 9