การใช้คำคุณศัพท์และการบอกความรู้สึก

การใช้คำคุณศัพท์และการบอกความรู้สึก คำคุณศัพท์ (Adjectives)

การใช้คำคุณศัพท์และการบอกความรู้สึก-vคำคุณศัพท์ (Adjectives) Part of Speech คืออะไร มีความสําคัญอย่างไร Part of speech คือชนิดหรือประเภทของคำ สามารถแสดงให้เห็นว่าคำนั้นทำหน้าที่อย่างไรทางไวยากรณ์ภายในประโยคและมีความหมายว่าอย่างไรนั่นเอง เพราะคำในภาษาอังกฤษบางคำสามารถแปลได้หลายความหมาย และทำหน้าที่

ระบบจำนวนจริง

จำนวนจริง           จำนวนจริง ( Real  Numbers ) ประกอบด้วย จำนวนตรรกยะและจำนวนอตรรกยะ                1) จำนวนตรรกยะ (Rational  Numbers) คือจำนวนที่สามารถเขียนในรูปเศษส่วนได้เมื่อเศษและส่วนเป็นจำนวนเต็ม  และ “ส่วนมีค่าไม่เท่ากับ 0 ”  ได้แก่ จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมซ้ำ

การเคลื่อนที่ในแนวตรง

การเคลื่อนที่ในแนวตรง การเคลื่อนที่ของวัตถุ  คือ การเปลี่ยนตำแหน่งของวัตถุนั่นเอง เมื่อวัตถุมีการเคลื่อนที่ สิ่งที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ ได้แก่ 1.  ระยะทาง        2. การกระจัด                              3.  อัตราเร็ว         4.  ความเร็ว 5. ความเร่ง           6.  เวลา ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แนวตรง

บอกเวลาด้วยเหตุการณ์ การใช้ adverb clause of time

บอกเวลาด้วยเหตุการณ์ การใช้ adverb clause of time Time clause rules ในการใช้ Time Clause นั้นจะมีกฏเกณฑ์เกี่ยวกับ tense ที่ง่ายๆอยู่ ก็คือ หากเราใช้time clause พูดถึง ปัจจุบัน (present) หรือ อดีต (past) เราจะใช้ tense ในรูป simple tense เพื่อพูดถึงช่วงเวลา พูดง่ายๆก็คือ เราจะใช้ present simple สำหรับปัจจุบัน และ past simple สำหรับอดีต ตัวอย่างเช่น We had dinner at Wendy’s before we watched the movie.

ประเภทของ Adverb of Frequency

อังกฤษออนไลน์ ระดับชั้น ม.4 Frequency adverbs ( คำกริยวิเศษณ์แสดงความถี่ )

สืบเนื่องจากบทความ Types of Adverbs ประเภทของกริยาวิเศษณ์ ซึ่ง 1 ในนั้น ก็คือ กริยาวิเศษณ์บอกความถี่ Adverbs of frequency ที่ใช้บอกความถี่ของการกระทำ ว่าการกระทำนั้น เกิดขึ้นบ่อยแค่ไหน  บทความนี้.. จึงได้สรุปหลักการใช้ Adverbs of frequency กริยาวิเศษณ์บอกความถี่ ว่าแต่ละคำนั้น ใช้บอกความถี่ในระดับไหน อย่างไร..?  จะได้จดจำได้ง่ายๆขึ้น ภาพสรุปหลักการใช้ Adverbs of frequency ประเภทของ Adverb of Frequency Adverb of Frequency จะแบ่งทั้งหมดเป็น 2 ประเภท คือ

ตารางธาตุและสมบัติของตารางธาตุ

ตารางธาตุและสมบัติของตารางธาตุ

ตารางธาตุและสมบัติของตารางธาตุ ตารางธาตุ ปี ค.ศ. 1817 โยฮัน เดอเบอไรเนอร์ • จัดกลุ่มของธาตุที่มีสมบัติคล้ายคลึงกันไว้ด้วยกัน ในรูปตารางธาตุ • จัดธาตุเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3 ธาตุ ตามสมบัติที่คล้ายคลึงกัน เรียก Triad โดยธาตุตัวกลางจะมี

โครงสร้างอะตอม

โครงสร้างอะตอม-เคมีออนไลน์

โครงสร้างอะตอม สังเกตภาพ ภาพจากกล้องจุลทรรศน์ อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (Scanning Electron Microscope) แสดงส่วนหัวของแมลงวันส่วนสีเขียวอ่อนคือตาของแมลงวัน

สมบัติและการนำไปใช้ประโยชน์ของของแข็ง

สมบัติและการนำไปใช้ประโยชน์ของของแข็ง

สมบัติและการนำไปใช้ประโยชน์ของของแข็ง สถานะต่างๆของสสาร ของแข็ง(Solids)มีลกัษณะทั่วไปคือ มีปริมาตรที่แน่นอน มีรูปร่างที่แน่นอนโมเลกุลถูกยึดเหนี่ยวกัน ของเหลวทุกชนิดเมื่อเย็นลงจนถึงอุณหภูมิหนึ่งจะกลายเป็นของแข็ง  เนื่องจากของแข็งมีอนุภาคอยู่ชิดกัน ทำให้มีช่องว่างระหว่างโมเลกุลน้อยดังนั้นอนุภาคที่เคยเคลื่อนที่ไปมาได้อย่างค่อนข้างอิสระจึงถูกจำกัดการที่อนุภาคของของแข็งเคลื่อนที่ได้น้อยจึงทำให้มีพลังงานจลน์น้อย  แต่อย่างไรก็ตามอนุภาคของของแข็งก็ยังคงสั่นได้  ดังนั้น จึงมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมากกว่าและเป็นเหตุให้ของแข็งมีรูปร่างแน่นอนไม่เปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุ