มาดูวิธีเปลี่ยนทศนิยมซ้ำให้เป็นเศษส่วนแบบง่ายๆและเข้าใจกัน

มาดูวิธีเปลี่ยนทศนิยมซ้ำให้เป็นเศษส่วนแบบง่ายๆ ทศนิยม     คือ จำนวนจริงที่มีเครื่องหมาย . (จุดทศนิยม) วางอยู่ระหว่างจำนวนเต็ม เช่น 1.25, 0.347, 4.0, -3.64 เป็นต้น ประเภทของทศนิยมมี 2 ประเภท คือ ทศนิยมซ้ำ กับ ทศนิยมไม่ซ้ำ (ในที่นี้จะกล่าวถึงแต่ทศนิยมซ้ำ)

หลัการทำงานเครื่องวัดชีพจร Heart rate monitor / HRM คืออะไร?

ประวัติความเป็นมาของเครื่องวัดชีพจร เครื่องวัดชีพจรเครื่องแรกนั้นยังไม่ได้อยู่ในรูปของนาฬิกา ผลิตขึ้นมาในปี 1977 จุดประสงค์เพื่อใช้ในการฝึกซ้อมทีมสกีในประเทศฟินแลนด์ ในลักษณะทดสอบระดับความเข้มข้นในการฝึก (intensity training) จากนั้นเป็นต้นมา การวัดชีพจรที่ใช้ในกีฬาจึงได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี

มารู้ สาร CFC (ซีเอฟซี) นํามาใช้ประโยชน์อย่างไร

มารู้ สาร CFC (ซีเอฟซี) นํามาใช้ประโยชน์อย่างไร เคมีควรรู้

สาร CFC (ซีเอฟซี) ตัวการโลกร้อน บ้านติดแอร์ จะช่วยอย่างไรดี สาร CFC (ซีเอฟซี) ที่เรารู้จักนั้น จะพบเจอในสารทำความเย็น ที่ใช้กันมากในโรงงานอุตสาหกรรม และที่กลุ่มช่างแอร์เราเจอก็คือ ในน้ำยาแอร์นั่นเอง แต่ก็ไม่เพียงเท่านี้ ยังพบในตู้เย็น แอร์รถยนต์ รวมไปถึงกระป๋อมสเปรย์ต่างๆทั่วโลก

ชนิดของเซต

ชนิดของเซต-เรื่องเซต(Set) ม.4 ออนไลน์

ชนิดของเซต-เรื่องเซต(Set) ม.4 เซตว่าง             เซตว่าง  คือ เซตที่ไม่มีสมาชิก สัญลักษณ์ที่ใช้ในเซตว่าง คือ {} หรือ( อ่านว่าไฟ (phi))

แผนภาพของเวนน์ และออยเลอร์ (Venn-Euler Diagram)

แผนภาพของเวนน์ และออยเลอร์ (Venn-Euler Diagram) แผนภาพของเวนน์ และออยเลอร์ (Venn-Euler Diagram)นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ชื่อนายจอห์นเวนน์( John Venn) และนัก คณิตศาสตร์ชาวสวิสเซอร์แลนด์ ชื่อนายเลียวนาร์ดออลเลอร์ ( Leonard Euler )

การหาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมมากกว่า 1 ตัวเชื่อม ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4

การหาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมมากกว่า 1 ตัวเชื่อม การหาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตวัเชื่อมหลาย ๆ ตัวเชื่อม จะตอ้งรู้ค่าความจริงของประพจน์ย่อย ๆ แลว้หาค่าความจริงของประพจน์ผสม โดยหาค่าความจริงที่อยู่ ในวงเล็บก่อน จากนั้น หาค่าความจริงตามลำดับความสำคัญของตัวเชื่อม

ตัวเชื่อม และ หรือ ถ้า…แล้ว… ก็ต่อเมื่อ นิเสธ ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4

ตัวเชื่อม และ หรือ ถ้า…แล้ว… ก็ต่อเมื่อ นิเสธ  ตารางค่าความจริง คือ ตารางที่สร้างขึ้น   เพื่อบอกว่าค่าความจริงของแต่ละประพจน์คืออะไร โดยที่ตารางค่าความจริงจะต้องแสดงค่าความจริงของประพจน์ ในทุกกรณี ซึ่งจำนวนกรณีจะมีค่าเท่ากับ จำนวนประพจน์ย่อย2จำนวนประพจน์ย่อยๆ