แม่เหล็กไฟฟ้า ผลของสนามแม่เหล็กต่อการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า-ฟิสิกส์ม.ปลาย

ผลของสนามแม่เหล็กต่อการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก (magnetic field) หมายถึง บริเวณที่มีแรงแม่เหล็กกระทำ โดยสนามแม่เหล็กเป็นบริเวณรอบ ๆ แท่งแม่เหล็ก ซึ่งมีแรงแม่เหล็กกระทำต่อวัตถุ  ความเข้มและทิศทางของสนามแม่เหล็กแสดง เส้นแรงแม่เหล็ก และนักวิทยาศาสตร์ได้ตีความเกี่ยวกับคำว่าสนามไว้ว่ามันคือเราไม่สามารถมองเห็นได้  

กฎของบิโอต์-ซาวารต์ (Biot–Savart law)

แม่เหล็กไฟฟ้า กฎของบิโอต์-ซาวารต์ (Biot–Savart law)ฟิสิกส์ออนไลน์

กฎของบีโอต์-ซาวารต์ (อ่านว่า ซาวา) (Biot-Savart Law) เป็นกฎทางฟิสิกส์ว่าด้วยสนามแม่เหล็ก ณ จุดใด ๆ ที่อยู่ห่างไปจากแหล่งกำเนิดสนามแม่เหล็กที่มีกระแสไฟฟ้าหรือประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่อยู่ โดยระบุได้ทั้งขนาดและทิศทางของสนามแม่เหล็กซึ่งเป็นปริมาณเวกเตอร์ จุดเด่นของกฎของบีโอต์-ซาวารต์นั้นก็คือเป็นคำตอบกำลังสองผกผันของกฎของอองแปร์ กฎนี้ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ชอง-บับตีสต์ บีโอต์ (Jean-Baptiste Biot) และเฟลีส์ ซาวารต์ (Félix Savart) นักฟิสิกส์ชาวฝรั่ง

ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetism)

ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetism)ฟิสิกส์ ม.ปลาย

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จากการศึกษาเกี่ยวกับไฟฟ้าสถิต ไฟฟ้ากระแสและไฟฟ้า แม่เหล็ก สรุปหลักการ ที่สำคัญได้ดังนี้ คือ

เครื่องปรับอากาศคืออะไร ?

มาดูว่าเครื่องปรับอากาศ(AirConditioner)คืออะไร ? ทำงานได้อย่างไร?

เครื่องปรับอากาศคืออะไร ? เครื่องปรับอากาศ หรือแอร์ เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่ใช้ในการปรับอุณหภูมิให้กับภายในห้องที่ต้องการให้เย็นลง และคงที่ ซึ่งจริงๆ แล้วเครืองปรับอากาศจะไม่ได้มีเฉพาะทำความเย็นอย่างเดียว ในต่างประเทศที่มีอากาศหนาวอยู่แล้วก็จะใช้อีกชนิดหนึ่งนั่นคือ เครื่องทำความร้อน (Heater) แทน สำหรับในบทความนี้จะพูดถึงเครื่องปรับอากาศที่ทำความเย็น

ประพจน์ที่สมมูลกัน

มาดูการใช้รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกัน-ตรรกศาสตร์ ม.4

ใช้รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกัน เพราะถ้าเรารู้ว่าประพจน์ไหนสมมูลกับประพจน์อาจจะทำให้การตรวจสอบการเป็นสัจนิรันดร์และการหาค่าความจริงง่ายขึ้น รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกันที่สำคัญ 1. p ∧ ~p ≡ F 2. p ∨ ~p ≡ T 3. p ∧ T ≡ p 4. p ∨ F ≡ p 5. ~(~p) ≡ p 6. p ∨ q ≡ q ∨ p 7. p ∧ q ≡ q ∧ p 8. ( p ∨ q ) ∨ r ≡ p ∨ ( q ∨ r ) ≡ p ∨ q ∨ r 9. ( p ∧ q ) ∧ r ≡ p ∧ ( q ∧ r ) ≡ p ∧ q ∧…

ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป (General relativity) ความรู้ทางคณิตศาสตร์

ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ (Special Relativity )จะเกี่ยวข้องกับระบบที่มีความเร็วคงที่คือเป็น ระบบที่ไม่มีความเร่ง การอธิบายทฤษฎีนี้อย่างง่ายที่สุดก็เปรียบเทียบให้เห็นว่า เมื่อเรารู้สึกว่าทุกสิ่งกำลังหยุดนิ่งหรือมีความเร็วที่เท่ากันเราไม่สามารถบอกได้ว่าสิ่งใดกำลังเคลื่อนที่ เช่น โลกหมุนรอบตัวเองและรอบดวงอาทิตย์ เรายัง รู้สึกว่าทุกสิ่งกำลังอยู่กับที่ แต่ที่จริงสิ่งที่เรานึกว่าหยุดอยู่กับที่กลับเคลื่อนที่ ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ (Special Relativity) ถูกเสนอขึ้นในปี ค.ศ. 1905 โดยอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ในบทความของเขา “เกี่ยวกับพลศาสตร์ไฟฟ้าของวัตถุซึ่งเคลื่อนที่ (On the Electrodynamics of Moving Bodies)” สามศตวรรษก่อนหน้านั้น หลักสัมพัทธภาพของกาลิเลโอกล่าวไว้ว่า การเคลื่อนที่ ด้วยความเร็วคงที่ทั้งหมดเป็นการสัมพัทธ์ และไม่มีสถานะของการหยุดนิ่งสัมบูรณ์และนิยามได้ คนที่อยู่บนดาดฟ้าเรือคิดว่าตนอยู่นิ่ง แต่คนที่สังเกตบนชายฝั่งกลับบอกว่า ชายบนเรือกำลังเคลื่อนที่ ทฤษฏีของไอน์สไตน์รวมหลักสัมพัทธภาพของกาลิเลโอเข้ากับสมมติฐานที่ว่า ผู้สังเกตทุกคนจะวัดอัตราเร็วของแสงได้เท่ากันเสมอ ไม่ว่าสภาวะการเคลื่อนที่เชิงเส้นด้วยความเร็วคงที่ของพวกเขาจะเป็นอย่างไร

เริ่มต้นสอนลูกอย่างไรให้เก่งภาษาอังกฤษ

เริ่มต้นสอนลูกอย่างไรให้เก่งภาษาอังกฤษ

ตั้งแต่ ยุคศตวรรษที่ 21 โลกเชื่อมต่อถึงกันได้ง่ายดายด้วยเทคโนโลยี และภาษาอังกฤษก็ช่วยให้การติดต่อสื่อสารระหว่างกันทำได้ง่ายขึ้น

ทฤษฎีพหุปัญญา (Multiple intelligence) ของการ์ดเนอร์ เพื่อการเรียนรู้

ทฤษฎีพหุปัญญา (Multiple intelligence) ของการ์ดเนอร์(Gardner) ได้เสนอแนวคิดว่าสติปัญญาของมนุษย์ไม่ได้มีเฉพาะเหตุผลเชิงตระกะและความสามารถทางภาษาแต่ยังมีสติปัญญาอีกหลายๆด้าน ได้แก่ สติปัญญาด้านดนตรี สติปัญญาการเคลื่อนไหวร่างกายและกล้ามเนื้อ สติปัญญาด้านการใช้เหตุผลเชิงตระกะและคณิตศาสตร์ สติปัญญาด้านภาษา สติปัญญาด้านเนื้อหามิติสัมพันธ์ สติปัญญาด้านการเข้ากับผู้อื่น สติปัญญาด้านการเข้าใจผู้อื่น สติปัญญาด้านเข้าใจในธรรมชาติ ในปี พ.ศ. 2526 การ์ดเนอร์ ได้เสนอว่าปัญญาของมนุษย์มีอยู่อย่างน้อย 7 ด้าน คือ ด้านภาษา ด้านตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์ ด้านมิติสัมพันธ์ ด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว ด้านดนตรี ด้านมนุษยสัมพันธ์ และด้านการเข้าใจตนเอง ต่อมาในปี พ.ศ. 2540 ได้เพิ่มเติมเข้ามาอีก 1 ด้าน คือ ด้านธรรมชาติวิทยา เพื่อให้สามารถอธิบายได้ครอบคลุมมากขึ้น จึงสรุปได้ว่า พหุปัญญา ตามแนวคิดของการ์ดเนอร์ ในปัจจุบันมีปัญญาอยู่อย่างน้อย 8 ด้าน ดังนี้ ปัญญาด้านภาษา (Linguistic Intelligence) คือ ความสามารถในการใช้ภาษารูปแบบต่างๆ ตั้งแต่ภาษาพื้นเมือง จนถึงภาษาอื่นๆ ด้วย สามารถรับรู้ เข้าใจภาษา…

ปรัชญาและแนวคิดทางการศึกษา

ปรัชญาและแนวคิดทางการศึกษา-เพื่อสังคมและวัฒนธรรม

    ปรัชญาและแนวคิดทางการศึกษา การศึกษาเป็นปัจจัยที่สำคัญยิ่งในการพัฒนาประเทศ ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง เครื่องมือในการเตรียมประชากรให้มีคุณภาพ คือ การศึกษา การจัดการศึกษาของชาตินั้นจะต้องสอดคล้องกับนโยบายทางด้านเศรษฐกิจ

ฟังก์ชันตรีโกณมิติ-นิยามจากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และเอกลักษณ์ตรีโกณมิติ

นิยามจากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก รูปสามเหลี่ยมมุมฉากจะมีมุมหนึ่งมีขนาด 90° (π/2 เรเดียน) ในที่นี้คือ C ส่วนมุม A กับ B นั้นเปลี่ยนแปลงได้ ฟังก์ชันตรีโกณมิติกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างความยาวด้านและมุมภายในรูปสาม เหลี่ยมมุมฉากในการนิยามฟังก์ชันตรีโกณมิติสำหรับมุม Aเราจะกำหนดให้มุมใดมุมหนึ่งในรูปสามเหลี่ยมมุมฉากเป็นมุม A เรียกชื่อด้านแต่ละด้านของรูปสามเหลี่ยมตามนี้