คณิตศาสตร์การเงิน ดอกเบี้ยทบต้น และการผ่อนจ่าย และ กองทุนรวม

ดอกเบี้ยและเงินรายงวด         การคิดดอกเบี้ย (Interest) จะเกิดขึ้นเมื่อเราทำธุรกิจการเงินอาจเป็นการฝาก หรือการกู้เงินโดยการคิดดอกเบี้ยจะมี 2 ประเภทหลักคือ 1)

นับเลขเป็นภาษาอังกฤษง่ายๆ กัน และแนะนำชนิดของตัวเลข

ธีการนับเลขแบบต่าง ๆ ในภาษาอังกฤษ ตัวเลขในภาษาอังกฤษมี 2 ชนิดคือ ตัวเลขจำนวนนับ Cardinal Numbers  เช่น 1 (one), 2 (two), 3(three), 4(four) ตัวเลขลำดับที่  Ordinal Numbers  เช่น 1st (first), 2nd (second), 3rd (third), 4th (fourth)

มารู้กับ การใช้งานระบบ Cluster Computing System

ระบบคลัสเตอร์ หรือคลัสเตอริ่ง เป็นการเชื่อมต่อระบบการทำงานของกลุ่มคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันภายใต้ระบบเครือข่ายความเร็วสูง มีความสามารถในการกระจายงานที่ทำไปยังเครื่อง ภายในระบบเพื่อให้การประมวลผลมีประสิทธิภาพสูงขึ้น โดยอาจเทียบเท่าซุปเปอร์คอมพิวเตอร์หรือสูงกว่าสำหรับการประมวลผลงานที่มีความซับซ้อนโดยเฉพาะงานด้านวิทยาศาสตร์ เช่น การจำลองโครงสร้างของโมเลกุลทางเคมี, การวิเคราะห์เกี่ยวกับตำแหน่งการเกิดพายุสุริยะ, การวิเคราะห์ข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ เป็นต้น

หลักการนับเบื้องต้น-กฏเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ

กฏเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ เเผนภาพต้นไม้ ในการหาวิธีต่างๆในชีวิตประจำวันนั้น เราจะใช้กฏการนับปกติ โดยกฏการนับนั้นหากไม่ใช้การคำนวณ จะใช้ “เเผนภาพต้นไม้” ในการค้นหา โดยเเผน ภาพต้นไม้นั้นจะมีลักษณะลากยาวไปเรื่อยๆจนถึงขั้นสุดท้ายเเละนับว่ามีกี่วิธี

ตัวประกอบของจำนวนนับ‎-การแยกตัวประกอบ และการหาตัวหารร่วม

ตัวประกอบ หมายถึง จำนวนนับที่หารจำนวนนับที่เรากำหนดให้ได้ลงตัว เช่น a จะเป็นตัวประกอบของ b ก็ต่อเมื่อ b หารด้วย a ลงตัว หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ a หาร b ลงตัว

ตัวคูณร่วมน้อย และ ตัวคูณร่วมมาก

ตัวประกอบของจำนวนนับ‎ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) และ ตัวคูณร่วมมาก (ห.ร.ม.)

ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) น้องๆ ทราบหรือไม่ว่า การหาตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) ของจำนวนนับตั้งแต่สองจำนวนขึ้นไปนั้น เป็นการหาตัวตั้งร่วมหรือพหุคูณร่วมที่มีค่าน้อยที่สุดของจำนวนนับเหล่านั้น บทความนี้ได้รวบรวม ตัวอย่าง ค.ร.น. พร้อมทั้งแสดงวิธีทำอย่างละเอียด โดยมีวิธี การหา ค.ร.น. ทั้งหมด 3 วิธี ดังนี้

เนื้อหาทางชีววิทยา-กลไกการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต ชีววิทยา

กลไกการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต กลไกการรักษาดุลยภาพของเซลล์ การรักษาดุลยภาพของร่างกาย (homeostasis) เป็นการปรับตัวของระบบและกลไกต่าง ๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิตให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่อาศัยอยู่ เพื่อไม่ให้เกิดอันตรายต่อระบบในร่างกาย สิ่งมีชีวิตต้องอาศัยการทำงานประสานกันของเซลล์จำนวนมาก เซลล์หลาย ๆ เซลล์รวมกลุ่มกันเป็น เนื้อเยื่อ (tissue) เพื่อทำหน้าที่เฉพาะอย่าง เนื้อเยื่อหลาย ๆ ชนิดรวมกันเป็น อวัยวะ (organ) อวัยวะหลาย ๆ อวัยวะทำหน้าที่ประสานกันและรวมกลุ่มกันเป็น ระบบอวัยวะ (organ system) ระบบอวัยวะทุกระบบจะทำงานประสานกันเป็นร่างกาย ซึ่งแต่ละอวัยวะจะทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพได้ต้องมีการปรับตัวเพื่อรักษาดุลยภาพในร่างกายเพื่อให้ร่างกายอยู่ในภาวะสมดุลอยู่เสมอ