เรียนคณิตศาสตร์ ม.5 คณิตศาสตร์พื้นฐานเรื่องเลขยกกำลัง

เรียนคณิตศาสตร์ ม.5 คณิตศาสตร์พื้นฐานเรื่องเลขยกกำลัง

คณิตศาสตร์ ม.5 ตามหลักสูตรของ สสวท. (หลักสูตรใหม่ ฉบับปรับปรุงปี 2560) ซึ่งเป็นหลักสูตรอัพเดทล่าสุด และใช้มาจนถึงปีปัจจุบัน

ยูเนียน (Union) อินเตอร์เซกชัน (intersection)และคอมพลีเมนต์(Complement) ของเซต

ยูเนียน (Union) อินเตอร์เซกชัน (intersection)และคอมพลีเมนต์(Complement) ของเซต การดำเนินการของเซต    1. ยูเนียน ของ A และ B คือเซตที่เกิดจากการรวบรวมสมาชิกของ A และ B เข้าไว้ด้วยกัน    2. อินเตอร์เซกชัน ของ A และ B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่เหมือนกันของ A และ B    3. ผลต่าง A – B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกของ A ที่ไม่ใช่สมาชิกของ B    4. คอมพลีเมนต์ ของ A เขียนแทนด้วย A’ คือสับเซตของ U ที่ประกอบด้วยสมาชิกที่ไม่อยู่ ใน A ปฏิบัติการระหว่างเซต คือ การนำเซตต่าง ๆ…

บทสรุปเรื่อง พาราโบลา

บทสรุปเรื่อง พาราโบลา

บทสรุปเรื่อง พาราโบลา พาราโบลาคือเซตของจุดทุกจุดบนระนาบ ซึ่งอยู่ห่างจากเส้นตรงที่ เส้นหนึ่งบนระนาบและจุดคงที่จุดหนึ่ง บนระนาบนอกเส้นตรงคงที่นั้น เป็น ระยะทางเท่ากับเสมอ

ตรรกศาสตร์ ม.4 เบื้องต้น

ตรรกศาสตร์ ม.4 เบื้องต้น

ตรรกศาสตร์ ม.4 ประพจน์ ประพจน์ (Statement) คือ ประโยคหรือข้อความที่เป็น “จริง” หรือ “เท็จ” อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น  เรียก จริง (True: T) หรือ เท็จ (False: F) ว่า ค่าความจริง (Truth value) ของประพจน์

สมบัติของพีระมิด – พื้นที่ผิวและปริมาตร

สมบัติของพีระมิด – พื้นที่ผิวและปริมาตร พีระมิด ในทางคณิตศาสตร์ ให้ความหมายคำว่า พีระมิด ดังนี้ รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นรูปเหลี่ยมใดๆ มียอดแหลมที่ไม่อยู่บนระนาบเดียวกันกับฐาน และหน้าทุกหน้าเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดร่วมกันที่ยอดแหลมนั้น เรียกว่า พีระมิด

ฟิสิกส์ แรงและกฎการเคลื่อนที่

ฟิสิกส์ แรงและกฎการเคลื่อนที่

ฟิสิกส์ แรงและกฎการเคลื่อนที่ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแรง 1 แรงชนิดต่าง ๆ 2 การแตกแรง 3 การรวมแรง 4 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา แรงและกฎการเคลื่อนที่ มีหน่วยย่อย ดังนี้ แรงและการแตกแรง กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน แรงดึงดูดระหว่างมวล แรงในแนวตั้งฉาก แรงตึงเชือก แรงเสียดทาน แรงมี 2 ประเภท 1. แรงที่ต้องสัมผัส คือ แรงที่ต้องสัมผัสวัตถุก่อนถึงจะเกิดแรงได้ เช่น การผลักของ การดึงของ การเตะ การต่อย เป็นต้น 2. แรงที่ไม่ต้องสัมผัส คือ แรงที่ไม่ต้องสัมผัสวัตถุก็เกิดแรงได้ เช่น แรงโน้มถ่วง แรงเเม่เหล็ก เเรงทางไฟฟ้า เป็นต้น การเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวตรง พบว่า วัตถุอาจมีการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว หรือมีการเปลี่ยนแปลงความเร็ว ซึ่งอะไรคือสาเหตุที่ทำให้วัตถุมีการเคลื่อนที่เป็นแบบดังกล่าว โดยปริมาณที่เกี่ยวข้องกับลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวตรง ได้แก่ ระยะทาง, การกระจัด, อัตราเร็ว, ความเร็ว, ความเร่ง…

สมดุลต่อการเคลื่อนที่ (translational equilibrium)

สมดุลต่อการเคลื่อนที่ (translational equilibrium)

สมดุลต่อการเคลื่อนที่ (translational equilibrium) สมดุลต่อการเคลื่อนที่ สมดุลต่อการเคลื่อนที่ การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งแกร่งอาจแบ่งได้เป็น 2 แบบคือ 1. การเคลื่อนที่แบบเลื่อนที่ คือทุกส่วนเลื่อนไปในทางเดียวกัน เช่น การผลักไม้บรรทัดแล้วไม้บรรทัดเลื่อนไปข้างหน้าทิศเดียวกัน 2. การเคลื่อนที่แบบหมุน คือมีส่วนเป็นแกนหมุนและส่วนอื่นๆเคลื่อนที่หมุนรอบแกน เช่น การเคลื่อนที่ของพัดลม แต่วัตถุบ้างที่ก็เคลื่อนที่แบบหมุนและเลื่อนที่ไปพร้อมๆกัน

Preposition หรือ คำบุพบท เช่น in, on, at

Preposition หรือ คำบุพบท เช่น in, on, at

Preposition หรือ คำบุพบท เช่น in, on, at การใช้ on ใช้กับวันในสัปดาห์ ใช้กับวันที่ ใช้กับวันสำคัญต่างๆ 1)“On” ในความหมายแปลว่า บน, ข้างบน เพื่อแสดงตำแหน่ง (Position) เช่น

หลักการเติม s และ es ที่ท้ายคำ

หลักการเติม s และ es ที่ท้ายคำ นามนับไม่ได้ (uncountable noun) คือ คำนามที่เราไม่รู้จะนับยังไงเพราะเรามองไม่เห็นความชัดเจนจากมันเช่น water – เพราะมันเป็นของเหลว เรานับไม่ได้แน่นอน เราจะนับได้ก็ต่อเมื่อมันอยู่ในกล่องบรรจุภัณฑ์เช่น A bottle of water – นำ 1 ขวด นอกจากนั้นนามนับได้จะมีพวกนามธรรมที่เรามองไม่เห็นเช่น honesty (ความซื่อสัตย์) ที่เราไม่รู้ว่ามันหน้าตาเป็นยังไง