สรุปสูตร ฟิสิกส์นิวเคลียร์
สรุปสูตร ฟิสิกส์นิวเคลียร์ สรุป 1. สรุปอนุภาค α มีประจุ + 2 , มีมวล 4 amu มีอัตราเร็ว 1/15 ความเร็วแสง มีอำนาจทะลุทะลวงน้อยกว่ารังสีอื่น
สรุปสูตร ฟิสิกส์นิวเคลียร์ สรุป 1. สรุปอนุภาค α มีประจุ + 2 , มีมวล 4 amu มีอัตราเร็ว 1/15 ความเร็วแสง มีอำนาจทะลุทะลวงน้อยกว่ารังสีอื่น
สรุปสูตร แคลคูลัสเบื้องต้น(calculus) ม.6 สรุปแคลคูลัส ม.6 – หาค่าลิมิต – ดิฟ อินทิเกรต – ความชันเส้นโค้ง – ฟังก์ชันเพิ่มลด – ค่าสูงสุดต่ำสุด – พื้นที่ปิดล้อมเส้นโค้ง ปฏิยานุพันธ์ (Integrate) • อินทริกรัลไม่จ ากัดเขต • อินทริกรัลจ ากัดเขต • การหาพื ้นที่ใต้กราฟ
[Full] ติวฟรี!! แก้โจทย์เลขง่ายขึ้นด้วยเทคนิควาดกราฟ โดยใช้เเคลคูลัสเบื้องต้น(calculus) ตอนที่ 2
เอกซ์โพเนนเชียล ลอการิทึม (exponential function) คณิตศาสตร์ ม. 4 เทอม 2 “ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม” สถิติข้อสอบ TCAS สัดส่วนการออกข้อสอบบทนี้ ในปีที่ผ่านๆมา ทั้งใน PAT1 และ 9 วิชาสามัญ พบความถี่ในการออกข้อสอบสูงสุด โดยเฉลี่ยถึงประมาณ 3-4 ข้อในทุกปี ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล (Exponential Function) จากการศึกษาในเรื่องเลขยกกำลัง ซึ่งท้ายที่สุดเราได้สนใจเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนจริงบวก และเลขชี้กำลังเป็นจำนวนจริงใด ๆ แต่ได้มีนักคณิตศาสตร์ได้สังเกตเห็นว่า ถ้าเลขยกกำลังมีฐานเป็น 1 และเลขชี้กำลังเป็นจำนวนจริงใด ๆ ดังนี้
เซตเบื้อต้น ตัวอย่างที่ 1 ก าหนดให้ A เป็นเซตของสระในภาษาอังกฤษ
การใช้ How about / What about แตกต่างกันอย่างไร How about / What about สองคำนี้ หน้าตาคล้ายกัน มีความหมายคล้ายกันหมายถึง แล้วสิ่งนี้นี่ What about และ How about สองคำนี้ ใช้ในตอนขึ้นต้นประโยคเพื่อแจ้งด้วยวัตถุประสงค์ต่างกัน โดยมีความหมายและตัวอย่างสถานการณ์ที่อยากยกมาให้ดูเป็นตัวอย่างดังนี้
วิธีการใช้ Who/ Whom/ Whose ในภาษาอังกฤษ Who (ผู้ซึ่ง) ในกรณีที่ Who ทำหน้าที่เป็นประธานในประโยคนั้น Who จะใช้แทนที่คำนามที่เป็นคน ดังรูปประโยคต่อไปนี้ค่ะ The lady who sits in front of you is my mother. (ผู้หญิงที่นั่งหน้าคุณคือคุณแม่ของฉันเอง) Whose (ของผู้ซึ่ง) คำว่า Whose จะต้องตามด้วยนามเสมอ โดยจะทำหน้าที่แสดงความเป็นเจ้าของ ดูตัวอย่างดังรูปประโยคต่อไปนี้ I know the man whose passport was lost. (ฉันรู้จักกับผู้ชายคนที่พาสปอร์ตหายคนนั้น) Whom (ผู้ซึ่ง) แม้ว่า Whom จะมีความหมายเหมือน Who แต่ก็ทำหน้าที่แตกต่างจาก Who โดย Whom…
อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น (Trigonometry Ratios) 1. ความหมายของตรีโกณมิติ ตรีโกณมิติหมายถึง วิทยาศาสตร์วิเคราะห์(Analytic Science) จุดเริ่มตน้ของวิชาน้ีเริ่มในศตวรรษที่ 17หลังจากได้พัฒนาสัญลักษณ์ของพีชคณิตตรีโกณมิติหมายถึง เรขาคณิตที่เกี่ยวก ับดาราศาสตร์ซึ่งเกี่ยวกับการวัดมุม ต้นก าเนิดวิชานี้ อาจจะขั้นอยทที่ผลงานของ ฮิปพาร์คัส (Hipparchus)ตรีโกณมิติหมายถึงการวัดรูปสามเหลี่ยมต้นก าเนิดวิชาน้ีอาจมีมานานราว 2,000 ปี ก่อนคริสต์ศักราช
เอกซ์โพเนนเชียล ลอการิทึม (Exponential Function) จากการศึกษาในเรื่องเลขยกกำลัง ซึ่งท้ายที่สุดเราได้สนใจเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนจริงบวก และเลขชี้กำลังเป็นจำนวนจริงใด ๆ
เรขาคณิตวิเคราะห์ (Analytic geometry) เรขาคณิตวิเคราะห์ เรขาคณิตวิเคราะห์ (Analytic Geometry) เป็นคณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่กล่าวถึงจุดบนระนาบ (point and plane)