การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น การแจกแจงความถี่ของข้อมูล

‎การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น-การแจกแจงความถี่ของข้อมูล

‎ ‎การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น การแจกแจงความถี่ของข้อมูล หลังจากที่กำหนดตัวแปรที่ต้องการศึกษา และมีการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับตัวแปรที่ต้องการศึกษาแล้ว ข้อมูลที่เก็บได้เรียกว่า ข้อมูลดิบ (Raw Data) เช่น ต้องการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสถิติ ก็จะมีการสร้างแบบทดสอบวิชาสถิติขึ้นมา นาไปสอบกับกลุ่มนักเรียนที่ต้องการวัด แล้วตรวจคะแนน คะแนนที่ได้เรียกว่า ข้อมูลดิบ (Raw Data) หรือคะแนนดิบ ซึ่งข้อมูลดิบนี้ยังไม่มีความหมายอะไร วิธีเบื้องต้นที่จะทำให้ข้อมูลดิบนั้นมีความหมายคือการแจกแจงความถี่ ซึ่งจะสามารถทำให้ข้อมูลนั้นสามารถเอาไปใช้ได้ง่ายขึ้น และสังเกตการเปลี่ยนแปลงต่างๆได้ง่ายขึ้นด้วย

การสร้างตารางแจกแจงความถี่

การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น-การสร้างตารางแจกแจงความถี่-คณิตศาสตร์ออนไลน์

การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ในการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น จะต้องทราบความหมายของคาว่า ตัวแปร ดังนี้ ตัวแปร คือ ลักษณะของประชากรที่สนใจจะศึกษาวิเคราะห์ ซึ่งลักษณะนั้นๆ สามารถเปลี่ยนค่าได้ ไม่ว่าจะเป็นตัวแปรเชิงคุณภาพหรือตัวแปรเชิงปริมาณ

สรุปสูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของเรขาคณิตรูปทรงต่างๆ

สรุปสูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของเรขาคณิตรูปทรงต่างๆ เนื้อหาทั้งหมดของ พื้นที่ ปริมาตร พื้นที่ผิวและปริมาตร

การจำแนกจำนวนเต็มบวกโดยใช้สมบัติการหารลงตัว คลังความรู้คณิตศาสตร์

การจำแนกจำนวนเต็มบวกโดยใช้สมบัติการหารลงตัว 1.จำนวนเฉพาะ (Prime Numbers)                 บทนิยาม     จำนวน เต็ม  p จะเป็นจำนวนเฉพาะ ก็ต่อเมื่อ p ≠ 0, p ≠ 1, p ≠ –1 และถ้ามีจำนวนเต็มที่หาร p ลงตัว จำนวนเต็มนั้นต้องเป็นสมาชิกของ {-1, 1, p, -p}                                                                

การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกำลังสอง

การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกำลังสอง  การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกำลังสอง การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกำลังสอง ตัวแปร : อักษรภาษาอังกฤษตัวเล็ก เช่น x , y ที่ใช้เป็นสัญลักษณ์แทนจำนวน ค่าคงตัว : ตัวเลขที่แททนจำนวน เช่น 1, 2 นิพจน์ : ข้อความในรูปสัญลักษณื เช่น 2, 3x ,x-8 , เอกนาม : นิพจน์ที่เขียนอยู่ในรูปการคูณของค่าคงตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไปที่มีเลขชี้กำลังของตัวแปรเป็นจำนวนเต็มบวกหรือศูนย์ เช่น -3, 5xy , 2y พหุนาม : นิพจน์ที่สามารถเขียนในรูปของเอกนาม หรือการบวกเอกนามตั้งแต่สองเอก นามขึ้นไป เช่น 3x , 5x +15xy+10x+5 ดีกรีของเอกนาม : ดีกรีสูงสุดของเอกนามในพหุนามนั้น เช่น x+2xy+1 เป็นพหุนามดีกรี 3 การแยกตัวประกอบของพหุนาม พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว : พหุนามที่เขียนได้ในรูป ax…

กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง พาราโบลา (PARABOLA) ม.3

กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง พาราโบลา (PARABOLA) ม.3

กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง พาราโบลา (PARABOLA) สมการพาราโบลา สมการของ พาราโบลา คือ สมการที่สามาเขียนให้อยู๋ในรูป

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น-ตัวบ่งปริมาณ(Quantified statement)

ตรรกศาสตร์เบื้องต้นเรื่องตัวบ่งปริมาณ ตัวบ่งปริมาณ(Quantified statement) ตัวบ่งปริมาณในตรรกศาสตร์ มี 2 ชนิด คือ 1) ตัวบ่งปริมาณ “ทั้งหมด” หมายถึงทุกสิ่งทุกอย่างที่ต้องการพิจารณาในการ นำไปใช้อาจใช้คำอื่นที่มีความหมายเช่นเดียวกับ “ทั้งหมด” ได้ ได้แก่ “ทุก”

เวกเตอร์ ปริมาณทางฟิสิกส์

เวกเตอร์ ปริมาณทางฟิสิกส์

เวกเตอร์ ปริมาณทางฟิสิกส์ ปริมาณเวกเตอร์ ได้แก่ แรง ความเร็ว อัตราเร่ง โมเมนต์ แรงเคลื่อนไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า การบอกปริมาณเวกเตอร์ เช่น แรง 10 นิวตันกระทำในแนวดิ่งมีทิศลงสู่พื้นโลก วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 5 เมตรต่อวินาทีไปทางทิศเหนือ เป็นต้น เราใช้เส้นตรงเขียนแทนปริมาณเวกเตอร์โดย