สมการกำลังสองตัวแปรเดียว ม.3

สมการกำลังสองตัวแปรเดียว ม.3 พหุนาม เช่น 3x³ , 2x² +x,  x²−5 และ 3x²−6x+1 ซึ่งเป็นพหุนามดีกรีสองมาแล้ว ในหัวข้อนี้เราจะมาเรียนเรื่องที่มีชื่อบทคล้ายกันนั่นคือสมการกำลังสองตัวแปรเดียว

การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม

การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม

การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม

อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว อสมการ (inequality) เป็นประโยคที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของจำนวนโดยมีสัญลักษณ์  <, >, ≤, ≥ หรือ ≠  แสดงความสัมพันธ์

สมการกำลังสองตัวแปรเดียว

สมการกำลังสองตัวแปรเดียว

สมการกำลังสอง สมการกำลังสอง คือ สมการพหุนามที่มีตัวแปรในพจน์ใดพจน์หนึ่ง ยกกำลังสองโดยมีรูปทั่วไปของสมการกำลังสอง ax2 + bx+c = 0 เมื่อ a,b,c เป็นค่าคงตัว และ a 0 โดยมี x เป็นตัวแปร เช่น   x2 + 7x +12 = 0 จะได้ว่า a = 1 , b = 7, c = 12           6×2 -7x-5=0 จะได้ว่า a = 6 , b = -7, c = -5    …

บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส

บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัสกล่าวว่า “สำหรับรูปสามเหลี่ยมใดๆ ถ้ากำลังสองของความยาวของด้านด้านหนึ่งเท่ากับผลบวกของกำลังสองของความยาวของด้านอีกสองด้านแล้วรูปสามเหลี่ยมนั้นเป็นสามเหลี่ยมมุมฉาก”

คณิตศาสตร์ ม. 3 ปริมาตรและพื้นที่ผิว

คณิตศาสตร์ ม. 3 ปริมาตรและพื้นที่ผิว รูปทรง 3 มิตินี้ จะเป็นรูปทรงที่มีด้านกว้าง ด้านยาว และด้านสูง ซึ่งรูปทรง 3 มิตินี้ มีลักษณะที่เพิ่มเติมขึ้นมา คือ ความสูง โจทย์จึงสามารถถามได้ใน 2 ประเด็น คือ  การหาพื้นที่ผิว การหาปริมาตร