เลขยกกำลัง สัญกรณ์วิทยาศาสตร์

เลขยกกำลัง สัญกรณ์วิทยาศาสตร์

เลขยกกำลัง สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ ตัวเลขสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ (คิดว่าภาษาอังกฤษคือ Scientific Notation) นั้นคือการเขียนเลขในรูปที่เป็นเลขทศนิยมหรือจำนวนเต็มที่มีแค่หลักหน่วย คูณกับเลขยกกำลังฐาน 10 เวลาจะย้ายจุดทศนิยมไปข้างหลัง (จากซ้ายไปขวา) เลขยกกำลังจะลดลง แต่เวลาย้ายจุดทศนิยมไปข้างหน้า (จากขวาไปซ้าย) เลขยกกำลังจะเพิ่มขึ้น

การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต การแปลงสภาพทางเรขาคณิต แบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ การเลื่อนขนาน การหมุน การสะท้อน การเลื่อนขนาน (Translation)  คือ การเลื่อนทุกจุดในรูปหน่่งไปบนระนาบ ตามแนวเส้นตรงในทิศทางเดียวกันและเป็นระยะทางเท่ากัน เช่น เลื่อนรูปสามเหลี่ยม ABC ไปทางขวา 10 เซนติเมตร ทุกจุดในรูปสามเหลี่ยม ABC ถูกเลื่อนไปอยู่ในรูปสามเหลี่ยม A’B’C’ การหมุน (Rotation) คือ การหมุนทุกจุดในรูปไปบนระนาบรอบจุดหมุนจุดหน่่งในทิศทางเดียวกันด้วยมุมเท่ากันการหมุนรูปใดๆ มีสิ่งที่ต้องรู้ 3 อย่าง คือ จุดหมุน ทิศทางการหมุน และขนาดมุมในการหมุน การสะท้อน (Reflection) คือ การเลื่อนทุกจุดในรูปไปอยู่อีกฝั่งของเส้นสะท้อน (หรือจุดสะท้อน) โดยทุกจุดของรูปที่สะท้อนห่างจากเส้นสะท้อนเป็นระยะทางเท่ากับที่รูปต้นแบบห่างจากเส้นสะท้อน (หลักการเดียวกับกระจกเงา)

การกระจายนิพจน์เชิงเส้น

การกระจายนิพจน์เชิงเส้น

การกระจายนิพจน์เชิงเส้น คุณได้เรียนรู้การแก้ปัญหาในชีวิตจริงโดยใช้ตัวดำเนินการเชิงตัวเลข อย่างไรก็ตามคุณจะนำมาปรับใช้กับสมการเชิงเส้นได้อย่างไร และอะไรคือสมบัติการแจกแจง ในบทเรียนนี้

การบวกเลขทศนิยม

การบวกเลขทศนิยม ถ้าเรามีจำนวนทศนิยม 2 จำนวนหรือมากกว่านั้นที่จะมารวมกัน เราก็บวกไปเหมือนกับจำนวนเต็ม แต่ต้องเขียนให้ตรงกันดังรูป จำไว้เลยว่าจุดทศนิยมนั้นต้องตรงกัน ลองดูตัวอย่างดังต่อไปนี้: ทำการบวก 2.7 และ 9.1 เข้าด้วยกัน

รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตัวอย่างเช่น สมการ x + 12 = 15 คำตอบของสมการนี้ คือ x = 3 เพราะเมื่อนำ x = 3 แทนในสมอการแล้วเป็นจริง   3 + 12 = 15 โดยในการหาคำตอบของสมการนั้น จะใช้วิธีการที่เรียกว่า การแก้สมการ โดยการแก้สมการนั้น คือ การหาคำตอบจากการใช้สมบัติการเท่ากันในการแก้ ซึ่งเราจะได้ศึกษากันในหัวข้อถัดไป

ประวัตินักคณิตศาสตร์ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันที่สำคัญ

ประวัตินักคณิตศาสตร์ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันที่สำคัญ

ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีผู้ที่มีความรู้ความสามารถทางด้านคณิตศาสตร์มากมาย จนได้มีผู้ตั้งนิยาม ความ รู้ และทฤษฎีมาเป็นบทเรียนต่างๆ มาเพื่อศึกษาค้นคว้า….บุคคลที่มีความรู้ความสามารถเหล่านั้นเราจึงให้ชื่อ ว่า เป็นนักคณิตศาสตร์ของโลก ซึ่ง ในบุคคลแต่ละท่านก็มีประวัติความเป็นมาที่น่าสนใจ ที่ทุกคนควรรู้จักไว้ให้เป็นประโยชน์ ซึ่งเราจะขอเสนอประวัตินักคณิตศาสตร์ที่มีชื่อเสียงในยุคก่อน

ทฤษฎีบทพีทาโกรัส

คณิตศาสตร์เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส

คณิตศาสตร์ ม. ต้น เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส นิยาม กำลังสองของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับ ผลบวกกำลังสองของความยาวด้านประกอบมุมฉาก เครื่องคิดเลขคณิตศาสตร์นี้ฟรีทันทีจะแก้สมการพีทาโกรัสทฤษฎีบทพีทาโกรัสว่า a²+b²=c² และสามารถใช้ในการค้นหาความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉากของรูปสามเหลี่ยมขวา เพียงแค่ใส่ความยาวของทั้งสองฝ่ายและ app ที่จะคำนวณด้านที่สามตามทฤษฎีบทพีทาโกรัส

คณิตศาสตร์ ม.1 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น

คณิตศาสตร์ ม.1 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น

คณิตศาสตร์ ม.1 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น วิชาคณิตศาสตร์ในวันนี้ นำเสนอเรื่องราวของกราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น น้อง ๆ จะได้เรียนรู้รูปแบบของกราฟ และการนำไปใช้ และเรียนรู้ความสัมพันธ์เชิงเส้น

คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องจำนวนเต็ม

จำนวนเต็มคืออะไร จำนวนเต็ม คือ  จำนวนที่ไม่มีเศษส่วนและทศนิยมรวมอยู่ในจำนวนนั้น ซึ่งจำนวนเต็มจะแบ่งออกเป็น 3 แบบคือ 1. จำนวนเต็มบวก ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4 , 5 ,… 2. จำนวนเต็มลบ  ได้แก่    …,-5 , -4 , -3 , -2 , -1 3. ศูนย์  ได้แก่   0 จำนวนเต็มบวก “จำนวนเต็มบวก” หรือเรียกอีกอย่างว่า “จำนวนนับ” ก็คือ จำนวนเต็มที่มีค่ามากกว่า 0 ขึ้นไป ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 5,…  นับไปเรื่อยๆ ไม่มีที่สิ้นสุด และบอกไม่ได้ด้วยว่าจำนวนนับตัวสุดท้ายคืออะไร จำนวนเต็มลบ “จำนวนเต็มลบ” หรือ “เลขติดลบ”…