การแก้สมการเอกซ์โพเนนเชียล

การแก้สมการเอกซ์โพเนนเชียล-คณิตศาสตร์ม.ปลาย

การแก้สมการเอกซ์โพเนนเชียล สมการที่มีตัวแปรเป็นเลขชี้กำลัง  เรียกว่าสมการเอกซ์โพเนนเชียล (exponential  equation) ในการหาคำตอบของสมการเอกซ์โพเนนเชียล  อาจทำได้โดยอาศัยลอการิทึม  ดังตัวอย่างต่อไปนี้ การแก้สมการเอกซ์โพเนนเชียล

ตัวประกอบจำนวนเฉพาะ (Prime Number)

ตัวประกอบจำนวนเฉพาะ (Prime Number)

จำนวนเฉพาะ (Prime Number) คือ จำนวนเต็มบวกที่มีตัวหารที่เป็นบวกอยู่ 2 ตัว คือ ตัว 1 และตัวมันเอง จำนวนเฉพาะ 1-100 ได้แก่ 2, 3, 5, 7, 11, 13, 17, 19, 23, 29, 31, 37, 41, 43, 47, 53, 59, 61, 67, 71, 73, 79, 83, 89, 97

การแยกตัวประกอบโดยใช้สมบัติการแจกแจง

การแยกตัวประกอบโดยใช้สมบัติการแจกแจง

การแยกตัวประกอบโดยใช้สมบัติการแจกแจง   การแยกตัวประกอบโดยใช้สมบัติการแจกแจง

การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวโดยการแยกตัวประกอบ

การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวโดยการแยกตัวประกอบ

การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวโดยการแยกตัวประกอบ การแก้สมการก าลังสองตัวแปรเดียวโดยการแยกตัวประกอบ คือ การแยกตัวประกอบของสมการ… เพื่อหาคำตอบหรือหาค่าของตัวแปร ในบทความนี้พี่จะพูดถึงสมการกำลังสองตัวแปรเดียว ซึ่งอยู่ในรูป ax² + bx + c = 0 โดยที่ a, b, c เป็นค่าคงตัว และ a ≠ 0

การแก้สมการและอสมการในรูปค่าสัมบูรณ์

การแก้สมการและอสมการในรูปค่าสัมบูรณ์ ช่วงและการแก้อสมการ โดยเฉพาะเรื่องช่วงและการแก้อสมการต้องอ่านให้เข้าใจนะครับเพราะต้องใช้ต่อยอดในการอ่านเรื่องนี้ครับ อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

การใช้แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ ในการตรวจสอบความสมเหตุสมผล

การใช้แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ ในการตรวจสอบความสมเหตุสมผล

  เราจะวาดแผนภาพตามสมมติฐานที่เป็นไปได้ แล้วพิจารณาว่าแผนภาพแต่ละกรณีแสดงผลสรุปตามที่สรุปไว้หรือไม่ ถ้าทุกกรณีแสดงผลตามที่กหนด แสดงว่าสมเหตุสมผล ถ้ามีแผนภาพที่ไม่แสดงผลตามที่สรุปไว้ การสรุปนั้นไม่สมเหตุสมผล โดยจะใช้การอ้างเหตุผลโดยตรรกบทของตรรกศาสตร์เข้ามาตรวจสอบ ข้อความที่ใช้อ้างเหตุผลมีอยู่ 4 แบบหลักๆ คือ (1-4) และอีก 2 แบบเพิ่มเติม คือ (5-6) ดังนี้

การประยุกต์ใช้เรื่องตรีโกณมิติไปใช้ในงานสาขาต่าง ๆ

ปัจจุบัน มีการนำตรีโกณมิติไปใช้ในงานสาขาต่าง ๆ เช่น เป็นเทคนิคในการสร้างรูปสามเหลี่ยม ซึ่งใช้ในวิชาดาราศาสตร์เพื่อวัดระยะทางของดาวที่อยู่ใกล้ ในภูมิศาสตร์ใช้วัดระยะทางระหว่างหลักเขตที่ดิน และใช้ในดาวเทียมนำทาง งานที่มีการใช้(และการนำทางใน

ตรีโกณมิติ (trigonon มุม 3 มุม และ metro การวัด)

ตรีโกณมิติ (trigonon มุม 3 มุม และ metro การวัด) เลขออนไลน์

ตรีโกณมิติ (trigonon มุม 3 มุม และ metro การวัด) ฟังก์ชันตรีโกณมิติ   (อังกฤษ: Trigonometric function) คือ ฟังก์ชันของมุม ซึ่งมีความสำคัญในการศึกษารูปสามเหลี่ยมและปรากฏการณ์ในลักษณะเป็นคาบ ฟังก์ชันอาจนิยามด้วยอัตราส่วนของด้าน 2 ด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก หรืออัตราส่วนของพิกัดของจุดบนวงกลมหนึ่งหน่วย หรือนิยามในรูปทั่วไปเช่น อนุกรมอนันต์ หรือสมการเชิงอนุพันธ์ รูปสามเหลี่ยมที่นำมาใช้จะอยู่ในระนาบแบบยุคลิด ดังนั้น ผลรวมของมุมทุกมุมจึงเท่ากับ 180° เสมอ