พื้นฐานตรรกศาสตร์-ค่าความจริงของประพจน์และตัวเชื่อม (Truth Table)

พื้นฐานตรรกศาสตร์-ค่าความจริงของประพจน์และตัวเชื่อม (Truth Table)

ค่าความจริงของประพจน์และตัวเชื่อม (Truth Table) ในการเชื่อมประพจน์นั้นบางครั้งจะต้องใช้ตัวเชื่อมหลายตัวมาเชื่อมประพจน์  ซึ่งอาจทำให้เกิดปัญหาในการหาค่าความจริงว่าควรที่จะเริ่มต้นที่ตัวใดก่อน  ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการลำดับสัญลักษณ์ที่ “คลุมความ” มากที่สุดและรองลงมาตามลำดับ

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น(Mathematical Logic) ม.4

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น(Mathematical Logic) ม.4

ตรรกศาสตร์ หมายถึง    ตรรกศาสตร์ เป็นวิชาที่ว่าด้วยกฎเกณฑ์และเหตุผล การได้มาของผลภายใต้กฎเกณฑ์ที่กำหนดถือเป็นสาระสำคัญ  ข้อความหรือการให้เหตุผลในชีวิตประจำวันสามารถสร้างเป็นรูปแบบที่ชัดเจนจน ใช้ประโยชน์ในการสรุปความ  ความสมเหตุสมผลเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวาง ตรรกศาสตร์เป็นแม่บทของคณิตศาสตร์แขนงต่าง ๆ และการประยุกต์ “ประพจน์” คือ ประโยคหรือข้อความบอกเล่าหรือปฏิเสธที่มีค่าความจริง เป็นจริงหรือเท็จ อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น

 พีระมิด กรวย และทรงกลม-คณิตศาสตร์

 พีระมิด กรวย และทรงกลม-คณิตศาสตร์ ม.ต้น

 พีระมิด กรวย และทรงกลม 3.1 ปริมาตรและพื้นที่ผิวของพีระมิด 3.2 ปริมาตรและพื้นที่ผิวของกรวย 3.3 ปริมาตรและพื้นที่ผิวของทรงกลม

คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.3 เรื่องวงกลม

คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.3 เรื่องวงกลม

คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.3 เรื่อง วงกลม 2.1 มุมที่จุดศูนย์กลางและมุมในส่วนโค้งของวงกลม 2.2 คอร์ดของวงกลม 2.3 เส้นสัมผัสวงกลม

พื้นฐานทางเรขาคณิต

พื้นฐานทางเรขาคณิต-คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.3

ขั้นตอนการสร้างขั้นพื้นฐานทางเรขาคณิต บทเรียน การแบ่งส่วนของเส้นตรง 1.1 การแบ่งส่วนของเส้นตรง โดยการแบ่งครึ่ง ต้องการแบ่งครึ่ง กข มีขั้นตอนดังนี้ 1. ให้ จุด ก และ จุด ข เป็นจุดศูนย์กลางของวงเวียน กางวงเวียนให้กว้างพอประมาณแต่ต้องมีขนาดกว้างกว่าความยาวครึ่งหนึ่งของ กข เพื่อสร้างส่วนโค้งที่มีรัศมียาวกว่าครึ่งหนึ่งของ กข จากนั้นเขียนส่วนโค้งให้ตัดกันที่ จุด ค และ จุด ง 2. ลากส่วนของเส้นตรงผ่านจุดตัดจุด ค และ จุด ง จะได้ คง ซึ่งตัดกับ กข ที่จุด จ ซึ่งจุด จ คือจุดกึ่งกลาง กข และจากวิธีการแบ่งครึ่งส่วนของเส้นตรง กข สามารถนำวิธีการดังกล่าวมาแบ่ง กจ และ จข จะได้ กข แบ่งออกเป็น 4 ส่วนเท่าๆ กัน…

 อัตราส่วนตรีโกณมิติ

 อัตราส่วนตรีโกณมิติ-คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.3

 อัตราส่วนตรีโกณมิติ 5.1 ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ 5.2 อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมแหลม 5.3 การนำอัตราส่วนตรีโกณมิติไปใช้ในการแก้ปัญหา  เนื้อหาทั้งหมดตามหลักสูตรของ สสวท.

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ การใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ เป็นทฤษฎีที่ช่วยในการหาเศษจากการหารของพหุนาม  เช่น หากเราต้องการหาเศษจากการหารพหุนาม 2×2−5x+6ด้วย  x -33333 – 3    ถ้าเราตั้งหารยาวตรงๆ เพื่อที่จะหาเศษนั้นมันจะยุ่งยากและยาวมาก…เพื่อเลี่ยงความยุ่งยากนี้เราก็มีเครื่องมือๆหนึ่ง….ซึ่งก็คือ ทฤษฎีบทเศษเหลือ เพื่อช่วยในการหาเศษจากการหารพหุนามนั้นเอง