สมบัติของเลขยกกำลัง คณิตศาสตร์ออนไลน์

สมบัติของเลขยกกำลัง ให้ a,b,m และ n เป็นค่าคงที่ใดๆ เลขยกกำลัง คือ การเขียนตัวเลขที่มีการคูณซ้ำหลาย ๆครั้งในรูปแบบย่อให้มีความยาวที่สั้นลงทำให้สามารถอ่านได้เข้าใจได้ง่ายกว่าการเขียนจำนวนมากและทำให้การคำนวณทางคณิตศาสตร์ง่ายขึ้นในบางรูปแบบโดยการเขียน เลขยกกำลัง จะมีส่วนประกอบทั้งหมด 2 ส่วน คือ ฐานของเลขยกกำลัง เลขชี้กำลัง นิยาม  ถ้า a เป็นจำนวนใด ๆ และ n เป็นจำนวนเต็มบวก  “ a ยกกำลัง n “ หรือ  “ a กำลัง n “

ภาคตัดกรวยวิธีทางเรขาคณิตวิเคราะห์(analytic geometry)

ภาคตัดกรวยวิธีทางเรขาคณิตวิเคราะห์(analytic geometry) กรวยเป็นรูปเรขาคณิตที่มีวิธีการสร้างในเชิงคณิตศาสตร์ ดังนี้

การเขียนโปรแกรม

หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น

หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น การเขียนโปรแกรมจะต้องเข้าใจหลักเกณฑ์ของภาษาโปรแกรมและระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ ว่ามีโครงสร้างและวิธีการใช้คำสั่งอย่างไร หลักเกณฑ์การเขียนโปรแกรมประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ การวิเคราะห์ปัญหา การวางแผน การเขียนโปรแกรม ทดสอบโปรแกรม จัดทำคู่มือและบำรุงรักษาโปรแกรม โดยมีรายละเอียดดังนี้

Fixed Mindset หรือ growth mindset คืออะไร

Fixed Mindset หรือ growth mindset คืออะไร 

Growth Mindset คือ ความเชื่อว่าศักยภาพของตนเองสามารถพัฒนาได้ หากมีความมุ่งมั่นอย่างเพียงพอ ส่วน Fixed Mindset มีความหมายตรงข้ามกันคือ ไม่เชื่อว่าศักยภาพตนเองพัฒนาได้ ซึ่งสิ่งที่เป็นปัญหาของบุคลากรในองค์กรที่มีกรอบความคิดแบบ Fixed Mindset คือ

สมบัติของจำนวนจริง

สมบัติของจำนวนจริง

ระบบจำนวนจริง หากใครยังไม่แม่นเรื่อง จำนวนตรรกยะหรืออตรรกยะ อย่าลืมไปทวนกันก่อนที่ จำนวนจริง ม.2 จำนวนจริงแทนปริมาณที่ต่อเนื่องกัน โดยทฤษฎีอาจแทนได้ด้วยทศนิยมไม่รู้จบ และมักจะเขียนในรูปเช่น 324.823211247… จุดสามจุด ระบุว่ายังมีหลักต่อ ๆ ไปอีก ไม่ว่าจะยาวเพียงใดก็ตาม

สรุปเนื้อหา จำนวนจริงเรื่องส่วนประกอบของจำนวนจริง

สรุปเนื้อหา จำนวนจริงเรื่องส่วนประกอบของจำนวนจริง

สรุปเนื้อหาส่วนประกอบของจำนวนจริง จำนวนจริง ( Real Number ) จะประกอบไปด้วย จำนวนตรรกยะ คือ จำนวนที่สามารถเขียนในรูปจำนวนเต็มหรือทศนิยมซ้ำได้ ในทางคณิตศาสตร์ จำนวนตรรกยะ (หรือเศษส่วน rational number) คืออัตราส่วนของจำนวนเต็มสองจำนวน มักเขียนอยู่ในรูปเศษส่วน a/b เมื่อ a และ b เป็นจำนวนเต็ม และ b ไม่เท่ากับศูนย์

ใช้กฎของ cosθ หรือ กฎของโคไซน์

ใช้กฎของ cosθ หรือ กฎของโคไซน์ กฎของไซน์ (The Law of Sines) เดินทางมาถึงเรื่องสุดท้ายท้ายสุดในตรีโกณมิติ ม.5 ซึ่ง เป็นเรื่องที่สูตรไม่เยอะ และค่อนข้างง่าย ดังนั้นไปเริ่มกันเลยครับ