สรุปเนื้อหา จำนวนจริง ม.2
ระบบจำนวนจริง (Real number) จํานวนจริงสามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ จํานวนตรรกยะ และจํานวนอตรรกยะ 1.จำนวนตรรกยะ (Rational Number) หมายถึง จำนวนที่สามารถเขียนได้ในรูป เศษส่วน
ระบบจำนวนจริง (Real number) จํานวนจริงสามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ จํานวนตรรกยะ และจํานวนอตรรกยะ 1.จำนวนตรรกยะ (Rational Number) หมายถึง จำนวนที่สามารถเขียนได้ในรูป เศษส่วน
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ นับว่ามีบทบาทมากยิ่งขึ้นทุกวัน ตราบที่วิวัฒนาการทางองค์ความรู้ของมนุษย์มีมากขึ้นเพียงใด ตราบนั้นย่อมหมายถึงความละเอียดและซับซ้อน ที่จะมีมากยิ่งขึ้นตามไปด้วย โดยเฉพาะการพัฒนาของเทคโนโลยี ซึ่งก้าวสู่กระบวนการทำงานที่ล้ำสมัยมากขึ้นในทุกวงการ ทำให้ความสามารถทางร่างกายของมนุษย์อาจมีขีดจำกัดที่ไม่รองรับ จึงจำเป็นต้องมีการคิดค้นผลิตอุปกรณ์ขึ้นมาไว้ใช้สนับสนุนการปฏิบัติงานต่าง ๆ โดยเฉพาะอุปกรณ์ที่มีความสามารถในการบันทึกจัดการบริหารข้อมูล และการประมวลผลอย่างคอมพิวเตอร์
จำนวนจริง (Real number) ม.2 จำนวนจริง ( Real Numbers ) ประกอบด้วย จำนวนตรรกยะและจำนวนอตรรกยะ 1) จำนวนตรรกยะ (Rational Numbers) คือจำนวนที่สามารถเขียนในรูปเศษส่วนได้เมื่อเศษและส่วนเป็นจำนวนเต็มและ “ส่วนมีค่าไม่เท่ากับ 0 ” ได้แก่ จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมซ้ำ
พื้นฐานตรรกศาสตร์ การวิเคราะห์ค่าความจริงของประพจน์ ในการวิเคราะห์ค่าความจริงของประพจน์นั้น สามารถทำการวิเคราะห์ได้ด้วยวิธีการดังนี้ การวิเคราะห์ด้วยตารางค่าความจริง การวิเคราะห์ด้วยตารางค่าความจริง สามารถทำการวิเคราะห์ได้ดังนี้ตัวอย่างต่อไปนี้
ค่าความจริงของประพจน์และตัวเชื่อม (Truth Table) ในการเชื่อมประพจน์นั้นบางครั้งจะต้องใช้ตัวเชื่อมหลายตัวมาเชื่อมประพจน์ ซึ่งอาจทำให้เกิดปัญหาในการหาค่าความจริงว่าควรที่จะเริ่มต้นที่ตัวใดก่อน ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการลำดับสัญลักษณ์ที่ “คลุมความ” มากที่สุดและรองลงมาตามลำดับ
ตรรกศาสตร์ หมายถึง ตรรกศาสตร์ เป็นวิชาที่ว่าด้วยกฎเกณฑ์และเหตุผล การได้มาของผลภายใต้กฎเกณฑ์ที่กำหนดถือเป็นสาระสำคัญ ข้อความหรือการให้เหตุผลในชีวิตประจำวันสามารถสร้างเป็นรูปแบบที่ชัดเจนจน ใช้ประโยชน์ในการสรุปความ ความสมเหตุสมผลเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวาง ตรรกศาสตร์เป็นแม่บทของคณิตศาสตร์แขนงต่าง ๆ และการประยุกต์ “ประพจน์” คือ ประโยคหรือข้อความบอกเล่าหรือปฏิเสธที่มีค่าความจริง เป็นจริงหรือเท็จ อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น
พีระมิด กรวย และทรงกลม 3.1 ปริมาตรและพื้นที่ผิวของพีระมิด 3.2 ปริมาตรและพื้นที่ผิวของกรวย 3.3 ปริมาตรและพื้นที่ผิวของทรงกลม
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.3 เรื่อง วงกลม 2.1 มุมที่จุดศูนย์กลางและมุมในส่วนโค้งของวงกลม 2.2 คอร์ดของวงกลม 2.3 เส้นสัมผัสวงกลม
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.3 ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ขั้นตอนการสร้างขั้นพื้นฐานทางเรขาคณิต บทเรียน การแบ่งส่วนของเส้นตรง 1.1 การแบ่งส่วนของเส้นตรง โดยการแบ่งครึ่ง ต้องการแบ่งครึ่ง กข มีขั้นตอนดังนี้ 1. ให้ จุด ก และ จุด ข เป็นจุดศูนย์กลางของวงเวียน กางวงเวียนให้กว้างพอประมาณแต่ต้องมีขนาดกว้างกว่าความยาวครึ่งหนึ่งของ กข เพื่อสร้างส่วนโค้งที่มีรัศมียาวกว่าครึ่งหนึ่งของ กข จากนั้นเขียนส่วนโค้งให้ตัดกันที่ จุด ค และ จุด ง 2. ลากส่วนของเส้นตรงผ่านจุดตัดจุด ค และ จุด ง จะได้ คง ซึ่งตัดกับ กข ที่จุด จ ซึ่งจุด จ คือจุดกึ่งกลาง กข และจากวิธีการแบ่งครึ่งส่วนของเส้นตรง กข สามารถนำวิธีการดังกล่าวมาแบ่ง กจ และ จข จะได้ กข แบ่งออกเป็น 4 ส่วนเท่าๆ กัน…