วิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้น ม.4 Present time -Noun action verbs

วิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้น ม.4 Present time -Noun action verbs

Present time -Noun action verbs When an Action Occurs What are Verb Tenses? นอกจากการแสดงสิ่งที่ประธานทำแล้ว กริยายังแสดงให้เราเห็นถึงช่วงเวลาของการกระทำด้วย คำกริยาระบุกรอบเวลาที่แตกต่างกันผ่านกาลกริยาที่แตกต่างกัน กล่าวโดยย่อ กาลกริยาจะบอกว่าเมื่อใดเกิดการกระทำขึ้น

บทเรียน Present simple and continuous

บทเรียน Present simple and continuous ภาษาอังกฤษ

บทเรียน Present simple and continuous Tense ในภาษาอังกฤษ แบ่งออกเป็น อดีต (Past) ปัจจุบัน (Present) อนาคต (Future) เพื่อใช้เล่าถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาต่าง ๆ ซึ่ง Tense ที่ Globish จะมาสรุปในวันนี้อยู่ใน Present Tense นั่นก็คือ Present Continuous  

สมบัติซัมเมชั่น ∑ หรือ ซิกม่า ในทางคณิตศาสตร์

สมบัติซัมเมชั่น ∑ หรือ ซิกม่า ในทางคณิตศาสตร์

สมบัติซัมเมชั่น หรือ ซิกม่า ในทางคณิตศาสตร์  ∑ ซัมเมชั่น หรือ ซิกม่า ∑ เป็นเครื่องหมายที่ใช้ในการหาผลรวมของอนุกรมหรือลำดับที่มีรูปทั่วไปเป็นพหุนามกำลังไม่เกินสาม การเขียนผลบวกในรูปซัมเมชั่น

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม คณิต เพิ่มเติม ม.4-6 เล่ม3 – บทที่1 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม

ภาษาอังกฤษเบื้องต้น การใช้งาน IF – Clauses ในรูปแบบต่างๆ

ภาษาอังกฤษเบื้องต้น การใช้งาน IF – Clauses ในรูปแบบต่างๆ

ภาษาอังกฤษเบื้องต้น การใช้งาน IF – Clauses ในรูปแบบต่างๆ If clause หรือ Conditional sentence (ประโยคเงื่อนไข) คือ ประโยคที่ผู้พูดสมมติว่าถ้ามีเหตุการณ์หนึ่งเกิดขึ้น จะมีผลหรือเหตุการณ์อื่นๆ เกิดขึ้นตามมา

ชนิดของฟังก์ชัน ม.4

ชนิดของฟังก์ชัน พีชคณิตของฟังก์ชัน หรือ การดำเนินการของฟังก์ชัน (Algebric Function or Operation of Function) ฟังก์ชันประกอบ หรือ ฟังก์ชันคอมโพสิต (Composite Function) ตัวผกผันของฟังก์ชัน หรือ ฟังก์ชันอินเวอร์ส (Inverse of Function) ฟังก์ชันจากเซตหนึ่งไปยังอีกเซตหนึ่ง

สมการและอสมการพหุนาม

สมการและอสมการพหุนาม บทที่ 3 สมการและอสมการพหุนาม เดิมที่เป็นเรื่องระบบจำนวนจริง แต่ด้วยเวลาที่ค่อนข้างจำกัดเราจะศึกษาเฉพาะส่วนที่เป็นสมการและอสมการพหุนมซึ่งนักเรียนจะ้ต้องทำรายงานก่อนที่จะเริ่มเรียนดังนี้รายงานเรื่องพหุนามและสมการกำลังสอง มีรายละเอียดหัวข้อดังต่อไปนี้

พหุนามและการแยกตัวประกอบพหุนาม

พหุนามและการแยกตัวประกอบพหุนาม พหุนามคืออะไรมาดูกัน เอกนาม คือ นิพจน์ที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปการคูณของค่าคงตัวกับตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป โดยที่เลขชี้กำลังของตัวแปรแต่ละตัวเป็นศูนย์หรือจำนวนเต็มบวก