พันธะเคมี(Chemical Bond)
พันธะเคมี(Chemical Bond) พันธะเคมี (Chemical Bonding) คือ แรงยึดเหนี่ยวที่เกิดขึ้นระหว่างอนุภาคมูลฐานหรืออะตอม (Atom) ซึ่งเป็นการดึงดูดเข้าหากัน เพื่อสร้างเสถียรภาพในระดับโมเลกุล
พันธะเคมี(Chemical Bond) พันธะเคมี (Chemical Bonding) คือ แรงยึดเหนี่ยวที่เกิดขึ้นระหว่างอนุภาคมูลฐานหรืออะตอม (Atom) ซึ่งเป็นการดึงดูดเข้าหากัน เพื่อสร้างเสถียรภาพในระดับโมเลกุล
เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry) สารประกอบอะโรมาติก คือ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัวที่มีคาร์บอนต่อกันเป็นวง มีจำนวน อิเล็กตรอนเป็น 4n+2 เมื่อ n = 1, 2,3 และอิเล็กตรอนเหล่านี้ไม่อยู่ประจำที่ สารที่เราคุ้นเคยได้แก่ เบนซีน (benzene) มีสูตรเคมี คือ C₆H₆ ซึ่งคาร์บอนทั้งหกอะตอมต่อกันเป็นหกเหลี่ยมและคาร์บอนทุก ๆ อะตอมอยู่ในระนาบเดียวกันและมีจำนวน 6 อิเล็กตรอน
โมลและสูตรเคมี โมล (mole หรือ mol) เป็นหน่วยเรียกในระบบ SI โดยสัญลักษณ์ของโมล คือ mol หมายถึง ปริมาณสารที่ประกอบไปด้วยอนุภาค (อะตอม โมเลกุล หรืออนุภาคอื่น) เท่ากับจำนวนอะตอมของไอโซโทป C-12 จำนวน 12 กรัม ซึ่งได้ว่า 1 mole = 6.02 x 1023 อนุภาค = Avogadro’s number
เคมีไฟฟ้า(Electrochemistry) เคมี ม.ปลาย โดยปฏิกิริยารีดอกซ์ (Redox Reaction) ก็คือ ปฏิกิริยาที่มีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันของสาร โดยปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้าสามารถแยกออกเป็นปฏิกิริยาย่อย (หรือที่เรียกว่า ครึ่งปฏิกิริยา) ได้ 2 ปฏิกิริยา ได้แก่ ครึ่งปฏิกิริยาที่มีการให้อิเล็กตรอน เรียกว่า ปฏิกิริยาออกซิเดซัน ครึ่งปฏิกิริยาที่มีการรับอิเล็กตรอน เรียกว่า ปฏิกิริยารีดักซัน
ปริมาณสารสัมพันธ์ ปริมาณสัมพันธ์ เป็นการศึกษาความสัมพันธ์เชิงปริมาณของสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยาเคมีจากสมการนั้นๆมวลอะตอม (atomic mass) คือ ตัวเลขที่ได้จากการเปรียบเทียบมวลจริงของธาตุ 1 อะตอมกับมวล มาตรฐาน คือ C-12 เป็นธาตุมาตรฐาน
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ ประพจน์ (proposition (or statement)) คือ ประโยค (sentence) ที่บอกได้ว่าเป็นจริงหรือเท็จเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนั้น ทุกประพจน์จะต้องมีค่าความจริงเพียงค่าเดียว คือจริง (จะเขียนแทนด้วย T) หรือเท็จ(จะ เขียนแทนด้วย F) เพียงอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น
การจัดธาตุในตารางธาตุ ในตารางธาตุมาตรฐาน ธาตุแต่ละตัวถูกจัดเรียงจากซ้ายไปขวาและจากบนลงล่างตามเลขอะตอม (Atomic Number) หรือจำนวนโปรตอนในนิวเคลียสของธาตุ โดยตารางธาตุในปัจจุบันแบ่งธาตุทั้งหมดออกเป็น 18 หมู่ (Group) ตามแนวดิ่ง โดยธาตุที่มีสมบัติคล้ายกันจะถูกจัดจำแนกให้อยู่ในหมู่เดียวกัน จากการจัดเรียงเวเลนซ์อิเล็กตรอน (Valence Electron) หรือมีจำนวนอิเล็กตรอนในวงนอกสุดเท่ากัน ทั้ง 18 หมู่ในตารางธาตุมีสัญลักษณ์เป็นตัวเลขโรมันหรือเลขอารบิก จาก 1 ถึง 18 และตัวอักษร เช่น IA หรือ 1A
เวกเตอร์ (vector) เวกเตอร์ (อังกฤษ: vector) เป็นปริมาณในทางคณิตศาสตร์ และ ฟิสิกส์ ปริมาณเวกเตอร์ประกอบไปด้วยขนาด (magnitude) และทิศทาง (direction) ซึ่งสามารถใช้ดำเนินการทางคณิตศาสตร์บนปริภูมิเวกเตอร์ (vector space) ต่างจากปริมาณสเกลาร์ที่อธิบายปริมาณด้วยขนาดเพียงอย่างเดียว
ปรากฏการณ์คลื่น ชนิดของคลื่นคลื่นเป็นปรากฎการณ์ที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่รูปแบบหนึ่ง คลื่นสามารถจำแนกตามลักษณะต่าง ๆได้ดังนี้1. จำแนกตามลักษณะการอาศัยตัวกลาง 1.1 คลื่นกล (Mechanical wave) เป็นคลื่นที่เคลื่อนที่โดยอาศัยตัวกลางซึ่งอาจเป็นของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซก็ได้ ตัวอย่างของคลื่นกลได้แก่ คลื่นเสียง คลื่นที่ผิวน้ำ คลื่นในเส้นเชือก เป็นต้น 1.2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic waves) เป็นคลื่นที่เคลื่อนที่โดยไม่อาศัยตัวกลาง สามารถเคลื่อนที่ในสุญญากาศได้ เช่น คลื่นแสง คลื่นวิทยุและโทรทัศน์ คลื่นไมโครเวฟ รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา เป็นต้น 2. จำแนกตามลักษณะการเคลื่อนที่ 2.1 คลื่นตามขวาง (Transverse wave) เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่ในทิศตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น ตัวอย่างของคลื่นตามขวางได้แก่ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 2.2 คลื่นตามยาว (Longitudinal wave) เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่ไปมาในแนวเดียวกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น ตัวอย่างของคลื่นตามยาวได้แก่ คลื่นเสียง 3. จำแนกตามลักษณะการเกิดคลื่น 3.1 คลื่นดล (Pulse wave) เป็นคลื่นที่เกิดจากแหล่งกำเนิดถูกรบกวนเพียงครั้งเดียว 3.2 คลื่นต่อเนื่อง (Continuous wave)…
เนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.4-ม.5-ม.6 บทที่ 2 ตรรกศาสตร์ ประพจน์ การเชื่อมประพจน์ การหาค่าความจริงของประพจน์ การสมมูลและนิเสธของประพจน์ สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล ตัวบ่งปริมาณและประโยคเปิด ประพจน์ “ตรรกศาสตร์” คือระบบวิชาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับความคิดและการให้เหตุผล ใช้เป็นเครื่องมือในการเข้าถึงหลักปรัชญาต่างๆ และเป็นพื้นฐานในหลายๆสาขาวิชา และสำหรับวิชาคณิตศาสตร์ น้องๆจะได้เรียนตรรกศาสตร์ในเป็นรูปแบบและกฎเกณฑ์ีการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ (Mathematical Logic) ไม่ว่าจะเป็น “และ” “หรือ” “ถ้า..แล้ว” “ก็ต่อเมื่อ” และนิเสธ นอกจากนี้ หลักตรรกศาสตร์จะใช้สำหรับการพิสูจน์ทฤษฎีต่างๆ หมายเหตุ : ข้อสังเกตจากตาราง 1. p Λ q จะมีค่าความจริงเป็นจริง เมื่อ p และ q มีค่าความจริงเป็นจริงทั้งคู่ p Λ q จะมีค่าความจริงเป็นเท็จ เมื่อ p หรือ q มีค่าความจริงเป็นเท็จ อย่างน้อยหนึ่งประพจน์ 2. p ∨ q…