👍ติวสรุปเนื้อหาคณิตฯ ม.ปลาย คณิต A-Level กับคอร์สล่าสุด

ติวสรุปเนื้อหาคณิตฯ ม.ปลาย คณิต A-Level กับคอร์สล่าสุด ติวสรุปเนื้อหาคณิตฯ ม.ปลาย เน้นบทที่ควรติวเพื่อเก็บให้ได้ เพื่อสอบ คณิตฯ A-Level ในเวลาที่เหลือไม่มาก ต้องเจาะให้ตรงจุด คอร์สระยะสั้นโค้งสุดท้ายก่อนสอบจริง เพิ่มความมั่นใจ เพิ่มคะแนน ในระยะเวลาไม่นาน ด้วยประสบการณ์ที่พี่อุ๋ยไปร่วมสอบกับ

ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น

กราฟ-ทฤษฎีกราฟเบื้องต้นกราฟ

กราฟ-ทฤษฎีกราฟเบื้องต้นกราฟ   อาจจะได้แผนภาพดังนี้ สมมติ ว่าจังหวัดหนึ่งมี 6 อำเภอ คือ A  ,  B , C , D , E  และ F โดยที่อำเภอ A , B  และ F  มีถนนเชื่อมติดต่อกัน 

ฟังก์ชันพหุนาม (Polynomial Function)

👍ฟังก์ชันพหุนาม (Polynomial Function) คณิตศาสตร์gเบิ้องต้น

ฟังก์ชันพหุนาม (Polynomial Function) สมการพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนจริง   อาจไม่มีคำตอบที่เป็นจำนวนจริง เช่น สมการ   x2 + 1 = 0  ,   x2 +  x  1  =  0   ทฤษฎีบทต่อไปนี้ยืนยันว่าสมการพหุนามจะมีคำตอบเป็นจำนวนเชิงซ้อนเสมอ

พื้นฐานคณิตเรื่องอนุกรมเรขาคณิต

พื้นฐานคณิตเรื่องอนุกรมเรขาคณิต

อนุกรมเรขาคณิต บทนิยาม  อนุกรมที่ได้จาก ลำดับเรขาคณิต เรียกว่า อนุกรมเรขาคณิต และ อัตราส่วนร่วมของลำดับเรขาคณิต จะเป็นอัตราส่วนร่วมของ อนุกรมเรขาคณิตด้วย กำหนด a1, a1r, a1r2, …, a1r n-1     เป็นลำดับเรขาคณิต จะได้    a1 + a1r + a1r2 + … + a1r n-1    เป็นอนุกรมเรขาคณิต ซึ่งมี   a1 เป็นพจน์แรก และ r เป็นอัตราส่วนร่วมของอนุกรมเรขาคณิต

คณิตศาสตร์ เรื่องคู่อันดับและกราฟ

คณิตศาสตร์ เรื่องคู่อันดับและกราฟ  คู่อันดับเป็นการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกของกลุ่มสองกลุ่ม 1. นักเรียนทบทวนเรื่องความหมายของ คู่อันดับ โดยครูเขียนตารางและแผนภาพแสดงการจับคู่ระหว่างจำนวนดินสอและราคา บนกระดาน ดังนี้

ปรับพื้นฐานเรื่องจำนวนเต็ม

ปรับพื้นฐานเรื่องจำนวนเต็ม

ปรับพื้นฐานเรื่องจำนวนเต็ม จำนวนเต็ม คือ จำนวนที่ไม่มีเศษส่วนและทศนิยมรวมอยู่ในจำนวนนั้น จำนวนเต็ม ประกอบด้วย จำนวนเต็มบวกจำนวนเต็มศูนย์ และ จำนวนเต็มลบ

ปรับพื้นฐาน จำนวนเต็ม , เศษส่วน และ ทศนิยม , ห.ร.ม. และ ค.ร.น. สมการ ร้อยละ

ปรับพื้นฐาน จำนวนเต็ม , เศษส่วน และ ทศนิยม , ห.ร.ม.และ ค.ร.น. , สมการ และ ร้อยละ

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสอง

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสอง

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสอง   2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างกำลังสาม 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม