รูปหลายเหลี่ยมคล้าย
รูปหลายเหลี่ยมคล้าย รูปหลายเหลี่ยมสองรูปคล้ายกัน ก็ต่อเมื่อ รูปหลายเหลี่ยมสองรูปนั้นมี ขนาดของมุมเท่ากันเป็นคู่ๆ ทุกคู่ และ อัตราส่วนของความยาวของด้านที่สมนัยกันทุกคู่เป็นอัตราส่วนที่เท่ากัน
รูปหลายเหลี่ยมคล้าย รูปหลายเหลี่ยมสองรูปคล้ายกัน ก็ต่อเมื่อ รูปหลายเหลี่ยมสองรูปนั้นมี ขนาดของมุมเท่ากันเป็นคู่ๆ ทุกคู่ และ อัตราส่วนของความยาวของด้านที่สมนัยกันทุกคู่เป็นอัตราส่วนที่เท่ากัน
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ความคล้าย ความคล้าย 4.1 รูปเรขาคณิตที่คล้ายกัน 4.2 รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 4.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน
ประสาทวิทยาศาสตร์ (Foundation of Neuroscience) ระบบประสาทของมนุษย์ การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ของระบบประสาทเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญในช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ยี่สิบส่วนใหญ่เนื่องจากความก้าวหน้าในทางอณูชีววิทยา , แม่เหล็กและประสาทการคำนวณ สิ่งนี้ทำให้นักประสาทวิทยาสามารถศึกษาระบบประสาทได้ในทุกแง่มุมไม่ว่าจะเป็นโครงสร้างอย่างไรทำงานอย่างไรพัฒนาอย่างไรความผิดปกติอย่างไรและจะเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร
ฟิสิกส์ดาราศาสตร์และประสาทศัลยแพทย์ชาวอิตาลี ใช้การคำนวณทางคณิตศาสตร์ศึกษาเปรียบเทียบความคล้ายคลึงเชิงโครงสร้าง รวมทั้งคุณสมบัติอื่น ๆ ที่ใกล้เคียงกันอย่างน่าประหลาด ระหว่างสมองมนุษย์ที่เล็กกะจ้อยร่อยกับจักรวาลอันกว้างใหญ่ไพศาล มีกฎธรรมชาติบางอย่างคอยกำกับให้สรรพสิ่งเกิดระเบียบขั้นพื้นฐาน ซึ่งเป็นตัวการทำให้สิ่งที่ดูผิวเผินแล้วแตกต่างกันอย่างมาก อย่างเช่นสมองมนุษย์กับห้วงจักรวาล กลับมีบางอย่างที่เหมือนกันในสาระสำคัญได้
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.3 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พีระมิด คือ ทรงสามมิติที่มีฐานเป็นรูปเหลี่ยมใดๆ มียอดแหลม ซึ่งไม่อยู่ในระนาบเดียวกับฐาน และหน้าทุกหน้าเป็นรูปสามเหลี่ยม ที่มีจุดยอดร่วมกันที่ยอดแหลม
ตัวเชื่อมประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อม การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อมต่างๆ โดยปกติเมื่อกล่าวถึงข้อความหรือประโยคนั้นมักจะมีกริยามากว่าหนึ่งตัว แสดงว่าได้นำประโยคมาเชื่อมกัน มากกว่าหนึ่งประโยค ดังนั้นถ้านำประพจน์มาเชื่อมกัน ก็จะได้ประพจน์ใหม่ ซึ่งสามารถบอกได้ว่าเป็นจริงหรือเป็นเท็จ ตัวเชื่อมประพจน์ที่มีอยู่ 5 ตัว และตัวเชื่อมที่ใช้กันมากในตรรกศาสตร์ คือ และ หรือ ถ้าแล้ว ก็ต่อเมื่อ ไม่ กำหนดให้ p และ q เป็นประพจน์ใดๆ เราสามารถเชื่อมประพจน์ทั้งสองเข้าด้วยกันได้ โดยอาศัยตัวเชื่อมประพจน์ดังต่อไปนี้
การสร้างตารางค่าความจริง-ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4 ตารางเรียงลำดับคุมความของลักษณ์จากมากไปหาน้อย
ธรรมชาติของเสียง เสียงและการได้ยิน ธรรมชาติของเสียง เสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุ เสียงเป็นพลังงานรูปหน่ึงท่ีทำให้ประสาทหูเกิดความรู้สึกได้ การเคล่ือนท่ีของเสียงจากตัวก่อกาเนิดเสียงต้องอาศัยตัวกลางในการถ่ายโอนพลังงานการสั่นของตัวก่อกำเนิดเสียงนั้น ไปยังสิ่งต่าง ๆ การเกิดคล่ืนเสียงเคล่ือนท่ีจากที่หน่ึงไปยังอีกท่ีหน่ึงได้จะต้องประกอบไปด้วย 1. มีแหล่งกำเนิดเสียง 2. มีการสั่นของแหล่งกำเนิดเสียง 3. มีตัวกลางให้คล่ืนเสียงเคล่ือนท่ีผ่าน
ตรรกศาสตร์(Logic) ประพจน์ (Propositions หรือ Statements)