แฟกทอเรียล n (Factorial n)

แฟกทอเรียล n (Factorial n)-ความน่าจะเป็น (Probability)

แฟกทอเรียล n (Factorial n) เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก แฟกทอเรียล n หมายถึง ผลคูณของจำนว เต็มบวกตั้งแต่ 1ถึง n ซึ่ง แฟกทอเรียล n เขียนแทนด้วย n ! โดย n! อ่านว่า แฟกทอเรียลเอ็น หรือ เอ็นแฟกทอเรียล ก็ได้ แต่อย่างไรก็ตาม บทนิยามของ n ! กล่าวเฉพาะ n ที่เป็นจำนวนเต็มบวก แต่ในบางครั้งก็จำเป็นต้องใช้ 0! โดย กำหนดค่าของ 0! จากนิยามได้ดังนี้ แฟกทอเรียล (Factorial) ให้ n เป็นจำนวนเต็มบวก จะได้ n! เป็นสัญลักษณ์ที่เขียนแทนการคูณกันของจำนวนเต็มบวกต้งัแต่ 1 ถึง n สัญลักษณ์ n! อ่านว่า เอ็นแฟกทอเรียล…

จำนวนจริง (real number)

จำนวนจริง (real number)-เลขออนไลน์

จำนวนจริง (real number) ส่วนประกอบของจำนวนจริง จำนวนจริง ( Real Number ) จะประกอบไปด้วย จำนวนตรรกยะ คือ จำนวนที่สามารถเขียนในรูปจำนวนเต็มหรือทศนิยมซ้ำได้ จำนวนอตรรกยะ คือ จำนวนที่ไม่สามารถเขียนในรูปจำนวนเต็มหรือทศนิยมซ้ำได้

ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน

ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ฟังก์ชัน คือ ความสัมพันธ์ จาก เซต หนึ่ง (โดเมน) ไปยังอีกเซตหนึ่ง (โคโดเมน ไม่ใช่ เรนจ์) โดยที่สมาชิกตัวหน้าไม่ซ้ำกัน ความคิดรวบยอดของฟังก์ชันนี้เป็นพื้นฐานของทุกสาขาของคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เชิงปริมาณ คู่อันดับ

สรุปจำนวนเชิงซ้อน

สรุปจำนวนเชิงซ้อน

จำนวนเชิงซ้อน โดยจะสรุป ประเด็กสำคัญใน เรื่อง ส่วนจริง ส่วนจินตภาพ ในจำนวนเชิงซ้อน และ ความหมายของ i ในจำนวนเชิงซ้อน พร้อมตัวอย่างเสริมความเข้าใจ สั้นๆ เป็นแนวทางสำหรับน้องระดับ ม.5 จำนวนเชิงซ้อน

เรียนคณิตออนไลน์ ที่ไหนดี ปี 2023

เรียนคณิตออนไลน์ ที่ไหนดี ปี 2023 สำหรับ ม.ปลาย

เรียนคณิตออนไลน์ ที่ไหนดี ปี 2023 สำหรับมัธยมม.ปลาย ก่อนสอบเข้ามหาลัย วิชาคณิตศาสตร์เป็นหนึ่งในวิชาหลักที่นักเรียนทุกคนต้องได้เรียนรู้นับตั้งแต่เข้าโรงเรียนชั้นอนุบาล ถือเป็นวิชาสำคัญที่นำมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประวันได้มากมายทั้งการค้าขาย การคิดบัญชี การคำนวณพื้นที่ต่าง ๆ

เวกเตอร์ (vector)-คณิตศาสตร์ 

เวกเตอร์ (vector)-คณิตศาสตร์

สเกลาร์และเวคเตอร์ (Scalar and Vector) 1.1.1 ปริมาณสเกลาร์ (Scalar quantity) ปริมาณสเกลาร์ คือ ปริมาณที่มีแต่ขนาดเพียงอย่างเดียว ไม่มีทิศทาง ตัวอย่าง เช่น เวลา อุณหภูมิประจุไฟฟ้า พลังงาน และปริมาตร มวล ระยะทาง อัตราเร็ว อัตราเร่ง เป็นต้น ดังนั้นปริมาณสเกลาร์จึงเป็นปริมาณต่าง ๆ ที่บอกแต่เพียงขนาดเพียงอย่างเดียวก็เป็นที่เข้าใจได้อย่างสมบูรณ์ได้

ชันฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม มีหน่วยย่อย ดังนี้

ชันฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม มีหน่วยย่อย ดังนี้

ชันฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม มีหน่วยย่อย ดังนี้ เลขยกกำลัง การเปรียบเทียบเลขยกกำลัง สมการรากที่สอง รูปแบบรูทไม่รู้จบ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล กราฟของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล และการแปลงกราฟ สมการเอกซ์โพเนนเชียล อสมการเอกซ์โพเนนเชียล ฟังก์ชันลอการิทึม กราฟของฟังก์ชันลอการิทึม และการแปลงกราฟ สมบัติของฟังก์ชันลอการิทึม การเปรียบเทียบค่าลอการิทึม แมนทิสซา และคาแรกเทอริสติก สมการลอการิทึม อสมการลอการิทึม