ประวัติความเป็นมาของจำนวนจริง-จำนวนจริง (Real number) ศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องตัวเลข

ประวัติของจำนวนจริง  ประวัติระบบจำนวนจริง หากกล่าวถึงคณิตศาสตร์ ทุกคนคงคิดว่าเป็น “ศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องตัวเลข” ซึ่งอันที่จริงแล้วคำจำกัดความนี้เป็นเพียงคำจำกัดความดั่งเดิมของคณิตศาสตร์เท่านั้น ปัจจุบันคณิตศาสตร์ได้ถูกพัฒนาจนไม่สามารถใช้คำจำกัดความดังกล่าวได้อีกต่อไป ซึ่งหากผู้ที่สนใจอยากรู้ว่าคณิตศาสตร์มีประวัติความเป็นมาอย่างไร มีอะไรมากไปกว่าตัวเลข ก็คงบอกได้แต่เพียงว่า ต้องติดตามกันต่อไป อย่างไรก็ตาม คำจำกัดความนี้สามารถชี้ให้เห็นถึงรากฐาน และที่มาของคณิตศาสตร์ได้อย่างชัดเจน นั่นก็คือ ตัวเลข นั่นเอง

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4-การหาค่าความจริงเมื่อไม่กำหนดค่าความจริงของประพจน์ย่อย

การหาค่าความจริงเมื่อไม่กำหนดค่าความจริงของประพจน์ย่อย การหาค่าความจริงของประพจน์ที่ยังไม่ก าหนดค่าความจริงมาให้ เราสามารถสร้างตารางค่าความจริงของ ประพจน์เชิงประกอบนั้นได้ โดยเราจะเรียกประพจน์ย่อยที่ยังไม่ก าหนดค่าความจริง ว่า ตัวแปรแทนประพจน์ และเรียกประพจน์เชิงประกอบที่ประกอบด้วยตัวแปรแทนประพจน์ ว่า รูปแบบของประพจน์

จำนวนจริง (Real number)

โจทย์แบบฝึกหัดเรื่อง จำนวนจริง (Real number) เรียนเลออนไลน์ ม.4

โจทย์แบบฝึกหัดเรื่อง จำนวนจริง (Real number) จำนวนอตรรกยะ หมายถึง จำนวนที่ไม่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็ม หรือทศนิยมซ้ำได้ ตัวอย่างเช่น √2 , √3, √5, -√2, – √3, -√5 หรือ ¶ ซึ่งมีค่า 3.14159265… 2. จำนวนตรรกยะ หมายถึง จำนวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มหรือทศนิยมซ้ำได้ ตัวอย่างเช่น     เขียนแทนด้วย 0.5000…     เขียนแทนด้วย 0.2000…             • ระบบจำนวนตรรกยะ จำนวนตรรกยะยังสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. จำนวนตรรกยะที่ไม่ใช่จำนวนเต็ม หมายถึง จำนวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนหรือทศนิยมซ้ำได้ แต่ไม่เป็นจำนวนเต็ม ตัวอย่างเช่น 2. จำนวนเต็ม หมายถึง จำนวนที่เป็นสมาชิกของเซต…

การคูณจํานวนเชิงซ้อน และ การสังยุคของจำนวนเชิงซ้อน

การคูณจํานวนเชิงซ้อน และ การสังยุคของจำนวนเชิงซ้อน ม.5-จำนวนเชิงซ้อน (Complex Numbers)

จำนวนเชิงซ้อน (Complex Numbers)-การคูณจำนวนเชิงซ้อนด้วยจำนวนเชิงซ้อน และ สังยุคของจำนวนเชิงซ้อน ม.5

ส่วนประกอบต่างๆของวงกลม

ส่วนประกอบต่างๆของวงกลม

วงกลม เป็นรูปเรขาคณิตบนระนาบซึ่งแต่ละจุดบนรูปเรขาคณิตนี้ อยู่ห่างจากจุดคงที่จุดหนึ่ง บนระนาบเดียวกันเป็นระยะเท่ากัน