กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน

กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน

กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มวล และน้ำหนัก 2.1 มวล (Mass) จากความรู้เรื่องแรง พบว่าแรงสามารถทำให้วัตถุเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ได้ แต่ในการเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุต่างๆ นอกจากจะขึ้นอยู่กับแรงแล้วยังพบว่ามีปริมาณอื่นที่มีความเกี่ยวข้องด้วย ดังตัวอย่างเหตุการณ์ต่อไปนี้ ถ้านำขวดพลาสติกขนาดเท่ากับ 3 ใบ แล้วใช้กระดาษหุ้มให้มิดชิด ใบแรกภายในวางเปล่า ใบที่สองเติมน้ำลงไปครึ่งขวด และใบที่สามเติมน้ำจนเต็มขวด แล้วแขวนไว้ในแนวดิ่งและลองขยับขวดไปมาในแนวระดับ ดังภาพที่ 12 อาจสรุปได้ว่า มวล คือ ปริมาณที่บอกให้ทราบถึงการต้านการเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ ซึ่งเป็นปริมาณสเกลาร์ ใช้สัญลักษณ์ คือ “ m ”มีหน่วยเป็น กิโลกรัม (kg )           2.2 น้ำหนัก (Weight) จากการศึกษาการตกอย่างเสรีของวัตถุใกล้ผิวโลก พบว่า เมื่อมีแรงมากระทำกับวัตถุ จะทำให้วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงตัว ซึ่งแรงที่มากระทำกับวัตถุนั้นคือ แรงดึงดูดของโลก ที่กระทำต่อวัตถุ    อาจเรียกแรงนี้ว่า น้ำหนักของวัตถุ โดยที่           2.3.1 กฎการเคลื่อนที่ข้อที่หนึ่งของนิวตัน จากการศึกษาเกี่ยวกับแรงและสภาพการเคลื่อนที่ พบว่า…

ระบบพิกัดในแผนที่

ระบบพิกัดในแผนที่

ระบบพิกัดในแผนที่ เนื่องจากโลกเป็นทรงกลมเมื่อมีการกำหนดตำแหน่งต่างๆ บนโลก จึงต้องถ่ายทอดตำแหน่งจากพื้นที่จริงลงมาสู่แผนที่ด้วยระบบพิกัด โดยระบบพิกัดแผนที่ คือ การอ้างอิงตำแหน่งของโลกที่ถ่ายทอดลงมาสู่แผนที่ซึ่งมีลักษณะแบนราบ โดยกำหนดให้มีจุดกำเนิดของพิกัดอยู่บนผิวโลก และมีลักษณะเป็นระบบพิกัดฉาก อันเกิดจากการตัดกันของแกนสมมติ ตั้งแต่ 2 แกนขึ้นไป ระบบพิกัดแผนที่มีอยู่ด้วยกันสองชนิด คือ ระบบพิกัด 2 มิติ และระบบพิกัด 3 มิติ ซึ่งพิกัดเหล่านี้ได้อ้างอิงกับตำแหน่งบนโลกด้วยระบบพิกัดทางภูมิศาสตร์

สมดุลของแรง (Balanced Force)

สมดุลของแรง (Balanced Force) สมดุลย์คืออะไร ในทางบัญชีและการเงิน คำว่า “สมดุลย์” (Balance) เป็นคำที่ใช้แสดงถึงสถานะที่ชี้ให้เห็นถึงความสมดุลของบัญชีหรือการเงิน ซึ่งอาจเป็นทั้งบัญชีบุคคล บัญชีธุรกิจ หรือแม้กระทั่งการเงินของรัฐบาล ความสมดุลของบัญชีหมายถึงความเท่าเทียมระหว่างส่วนรายรับและรายจ่าย หรือส่วนฐานะของสินทรัพย์และหนี้สิน

การอ้างเหตุผล ตรรกศาสตร์ ม4

การอ้างเหตุผล ตรรกศาสตร์ ม.4

การอ้างเหตุผล ตรรกศาสตร์ ม.4 คือ การอ้างว่า สำหรับเหตุการณ์ P1, P2,…, Pn ชุดหนึ่ง สามารถสรุปผลที่ตามมา C ได้ โดยการอ้างเหตุผลประกอบด้วย 2 ส่วน คือ เหตุ (สิ่งที่กำหนดให้) และ ผล (สิ่งที่ตามมา) สำหรับการพิจารณาว่า การอ้างเหตุผลนั้นสมเหตุสมผลหรือไม่ สามารถพิจารณาได้จากประพจน์ ( P1 ∧ P2 ∧ … Pn) → C ถ้าประพจน์ดังกล่าวมีค่าความจริงเป็นจริงเสมอ (เป็นสัจนิรันดร์) เราสามารถสรุปได้ว่าการอ้างเหตุผลดังกล่าวเป็นการอ้างที่สมเหตุสมผล

ทฤษฎีจำนวน (Number Theory)

ทฤษฎีจำนวน (Number Theory)

ทฤษฎีจำนวน (Number Theory) ตัวอย่างผลงาน เช่น ทฤษฎีบทปีทาโกรัส การค้นพบจำนวนอตรรยะ สมบัติของจำนวนบาง ประเภท จำนวนเชิงรูปภาพ เป็นต้น ปีทาโกรัสมีความเชื่อและสั่งสอนศิษย์ว่า “ทุกสรรพสิ่งแทนได้ด้วย จำนวน” (All is number) (คำว่าจำนวน หมายถึง จำนวนตรรกยะบวกและศูนย์เท่านั้น)

การใช้คำคุณศัพท์และการบอกความรู้สึก

การใช้คำคุณศัพท์และการบอกความรู้สึก คำคุณศัพท์ (Adjectives)

การใช้คำคุณศัพท์และการบอกความรู้สึก-vคำคุณศัพท์ (Adjectives) Part of Speech คืออะไร มีความสําคัญอย่างไร Part of speech คือชนิดหรือประเภทของคำ สามารถแสดงให้เห็นว่าคำนั้นทำหน้าที่อย่างไรทางไวยากรณ์ภายในประโยคและมีความหมายว่าอย่างไรนั่นเอง เพราะคำในภาษาอังกฤษบางคำสามารถแปลได้หลายความหมาย และทำหน้าที่

ระบบจำนวนจริง

จำนวนจริง           จำนวนจริง ( Real  Numbers ) ประกอบด้วย จำนวนตรรกยะและจำนวนอตรรกยะ                1) จำนวนตรรกยะ (Rational  Numbers) คือจำนวนที่สามารถเขียนในรูปเศษส่วนได้เมื่อเศษและส่วนเป็นจำนวนเต็ม  และ “ส่วนมีค่าไม่เท่ากับ 0 ”  ได้แก่ จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมซ้ำ

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4 คณิตศาสตร์ออนไลน์

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4 ตรรกศาสตร์คืออะไร “ตรรกศาสตร์” คือระบบวิชาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับความคิดและการให้เหตุผล ใช้เป็นเครื่องมือในการเข้าถึงหลักปรัชญาต่างๆ และเป็นพื้นฐานในหลายๆสาขาวิชา และสำหรับวิชาคณิตศาสตร์ น้องๆจะได้เรียนตรรกศาสตร์ในเป็นรูปแบบและกฎเกณฑ์ีการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ (Mathematical Logic)  ไม่ว่าจะเป็น “และ” “หรือ” “ถ้า..แล้ว” “ก็ต่อเมื่อ” และนิเสธ นอกจากนี้ หลักตรรกศาสตร์จะใช้สำหรับการพิสูจน์ทฤษฎีต่างๆ