ลำดับเลขคณิต และ ลำดับเรขาคณิต (Sequences and series) -คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

ลำดับ (Sequences) หมายถึง จำนวนหรือพจน์ที่เขียนเรียงกันภายใต้กฎเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่งลำดับทั่วๆ ไปแบ่งเป็น 2 ชนิดคือ – ลำดับจำกัด คือลำดับซึ่งมีจำนวนพจน์จำกัด เช่น 1,2,3,4,…,100 – ลำดับอนันต์ คือลำดับซึ่งมีจำนวนพจน์ไม่จำกัด เช่น 1,2,3,4,…

เวกเตอร์(Vectors) คุณสมบัติของผลคูณแบบสเกลาร์ และเวกเตอร์

คุณสมบัติของผลคูณแบบสเกลาร์ หรือเขียนในรูปของดีเทอร์มิแนนท์ (Determinant) ได้ว่า โดยที่ การหาอนุพันธ์ของเวกเตอร์

สรุปตรรกศาสตร์เบื้องต้น (Mathematical Logic ) คณิตศาสตร์ ม.4 ม.ปลาย

ตรรกศาสตร์ ประพจน์ คือ ประโยค หรือข้อความที่อยู่ในรูปแบบประโยคบอกเล่า หรือประโยคปฏิเสธ ที่เป็นจริงหรือเป็นเท็จอย่างใดอย่างหนึ่ง

สรุปเรื่องจำนวนจริง (Real Numbers) คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

จำนวนซึ่งมนุษย์คิดขึ้นเป็นครั้งแรก เป็นจำนวนที่ใช้สำหรับนับสิ่งของ นับสัตว์เลี้ยง เมื่อนำจำนวนเหล่านี้มาเขียนเป็นเซต เรียกว่า เซตของจำนวนนับ โดยแทนชื่อเซตนี้ด้วย…. คือ

สรุปสูตร เรขาคณิตวิเคราะห์ (Analytic geometry)คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

สรุปสูตร เรขาคณิตวิเคราะห์ (Analytic geometry)     เรขาคณิตวิเคราะห์(Analytic Geometry) เป็นสาขาหนึ่งของวิชาคณิตศาสตร์ วิธีการทางเรขาคณิตวิเคราะห์เป็ นการศึกษาความสัมพันธ์ของหลักเกณฑ์ทางเรขาคณิตและพีชคณิตผสมผสานกัน ความคิดทางเรขาคณิตวิเคราะห์ได้ก่อตัวมานานตั้งแต่การส ารวจของชาวอียิปต์และการท าแผนที่โลกของชาวกรีก และเริ่มมีความชัดเจนมากขึ้นเมื่อปี แยร์ เดอ แฟร์มา

คณิตศาสตร์สถิติเบื้องต้น(Statistic) คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

สถิติ สถิติ (Statistic) หมายถึง 1. ตัวเลขแทนปริมาณจำนวนข้อมูล หรือข้อเท็จจริงของสิ่งต่าง ๆ ที่คนโดยทั่วไปต้องการศึกษาหาความรู้ เช่นต้องการทราบปริมาณน้ำฝนที่ตกในกรุงเทพมหานครปี 2541 เป็นต้น 2. ค่าตัวเลขที่เกิดจากการคำนวณมาจากกลุ่มตัวอย่าง(Sample)  หรือคิดมาจากนิยามทางคณิตศาสตร์ เช่นคำนวณหาค่าเฉลี่ย  ค่าความแปรปรวน ค่าที่คำนวณได้เรียกว่าค่าสถิติ ( A Statistic) ส่วนค่าสถิติทั้งหลายเรียกว่า ค่าสถิติหลาย ๆ ค่า (Statistics)

สรุปสูตร ตรีโกณมิติ (Trigonometry) คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

ฟังก์ชันตรีโกณมิติ (อังกฤษ: Trigonometric function) คือ ฟังก์ชันของมุม ซึ่งมีความสำคัญในการศึกษารูปสามเหลี่ยมและปรากฏการณ์ในลักษณะเป็นคาบ ฟังก์ชันอาจนิยามด้วยอัตราส่วนของด้าน 2 ด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก หรืออัตราส่วนของพิกัดของจุดบนวงกลมหนึ่งหน่วย หรือนิยามในรูปทั่วไปเช่น อนุกรมอนันต์ หรือสมการเชิงอนุพันธ์ รูปสามเหลี่ยมที่นำมาใช้จะอยู่ในระนาบแบบยุคลิด ดังนั้น ผลรวมของมุมทุกมุมจึงเท่ากับ 180° เสมอ

แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่มีตัวแปรเดียวและดีกรีสองที่เป็นผลต่างกำลังสอง-คณิตศาสตร์

การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองที่มีตัวแปรเดียว การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสองและมีตัวแปรเดียว  ที่แต่ละพจน์มี

การให้เหตุผล-ทางคณิตศาสตร์ (คณิตศาสตร์ ม.4)

 การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ (หรือการอ้างเหตุผล) คือ กระบวนการคิดของมนุษย์ และสื่อความหมายกับผู้อื่นด้วยภาษา ซึ่งประกอบด้วยข้อความ หรือประโยคกลุ่มหนึ่งที่ยกขึ้นมาเพื่อสนับสนุนให้ได้ข้อความ หรือประโยคตามมา มักจะแสดงในส่วนของ เหตุ เราเรียกข้อความกลุ่มแรกนี้ว่า ข้ออ้าง (Premisses) และข้อความอีกชุดหนึ่งที่แสดงในส่วนของ ผล จะถูกเรียกว่า ข้อสรุป (Conclusion)