ทฤษฎีเบื้องต้น (Basic theory) – สถิติทั่วไป

ทฤษฎีเบื้องต้น (Basic theory) สถิติคืออะไร : ผู้เขียนเองจำไม่ได้ว่า เคยได้เจอคำจำกัดความนี้ที่ไหนหรือไม่เพราะเท่าที่ทราบ ก็ไม่เคยมีคำบัญญัติเกี่ยวกับความหมายของคำว่า สถิติ ไว้ตายตัว ท่านผู้อ่านคงเคยได้ยินคำว่า

มุมและสมบัติของมุม-คณิตศาสตร์

รู้ไหม? มุมเกิดจากอะไร             มุม เกิดจาก รังสีหรือส่วนของเส้นตรงสองเส้นที่มีจุดปลายเป็นจุดเดียวกัน จุดนี้เรียกว่า จุดยอดมุม และรังสีหรือส่วนของเส้นตรงแต่ละเส้นเรียกว่า แขนของมุม

ความหมายเรื่องความสัมพันธ์และฟังก์ชัน(Relations and Functions)

ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ฟังก์ชัน คือ ความสัมพันธ์ จาก เซต หนึ่ง (โดเมน) ไปยังอีกเซตหนึ่ง (โคโดเมน ไม่ใช่ เรนจ์) โดยที่สมาชิกตัวหน้าไม่ซ้ำกัน ความคิดรวบยอดของฟังก์ชันนี้เป็นพื้นฐานของทุกสาขาของคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เชิงปริมาณ

ประโยชน์ของตรรกศาสตร์ในชีวิตประจำวัน

ทักษะอันกล่าวได้ว่าเป็นสัญชาตญาณอย่างหนึ่งของมนุษย์ที่เกิดขึ้นได้โดยธรรมชาติก็คือ การให้เหตุผล ซึ่งเป็นหลักการทางคณิตศาสตร์ที่หลายคนเองก็ยังมีความสงสัยว่าเป็นหลักการทางคณิตศาสตร์ได้อย่างไร อีกทั้งการใช้หลักการให้เหตุผลก็ยังมีการใช้กันมาอย่างยาวนานตั้งแต่โบราณกาล หรืออาจกล่าวได้ว่าเกิดขึ้นโดยธรรมชาติตั้งแต่มีมนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นบนโลกใบนี้เลยก็ว่าได้ ดังเช่น การให้เหตุผลว่าด้วยเรื่องโลกของเราแบนหรือกลม เป็นต้น

การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง-คณิตศาสตร์

การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง  ข้อมูลที่ทำการเก็บรวบรวมโดยวิธีหนึ่ง เป็นข้อมูลที่ยังไม่มีการนำมาจัดเป็นหมวดหมู่หรือทำการวิเคราะห์ เรียกว่า ข้อมูลดิบ(Raw Data) หรือคะแนนดิบ (Raw Score) ข้อมูลดิบเหล่านี้ถ้ามีจำนวนมาก ทำให้ไม่สามารถเห็นคุณลักษณะของข้อมูลได้ ดังนั้น เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลมาแล้วจึงต้องนำมาทำการจัดเตรียมข้อมูลเหล่านั้นให้เป็นหมวดหมู่ เพื่อความสะดวกในการนำไปวิเคราะห์ตามต้องการ ซึ่งวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลที่นิยมใช้วิธีหนึ่ง คือ การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (Measures of Central Tendency)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิต-ความหมายของสถิติ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิต ความหมายของสถิติ คำว่า สถิติ (Statistics) มาจากภาษาเยอรมันว่า Statistik มีรากศัพท์มาจาก Stat หมายถึงข้อมูล หรือสารสนเทศ ซึ่งจะอำนวยประโยชน์ต่อการบริหารประเทศในด้านต่าง ๆ เช่น การทำสำมะโนครัว เพื่อจะทราบจำนวนพลเมืองในประเทศทั้งหมด ในสมัยต่อมา คำว่า สถิติ ได้หมายถึง ตัวเลข

จำนวนเชิงซ้อน-ทฤษฎีบทเดอร์มัวร์ ( De Moivre”s Theorem)-ความรู้ทางคณิตศาสตร์

ทฤษฎีบทเดอร์มัวร์ ( De Moivre”s Theorem) ซึ่งทฤษฏีบทนี้นำไปใช้งานเมื่อเราต้องการยกกำลังจำนวนเชิงซ้อน ซึ่งต้องการยกกำลังครั้งละมากๆ เช่น ยกกำลังร้อย  ยกกำลังสิบ ก็จะนำทฤษฏีบทนี้มาช่วยในการยกกำลัง เพราะถ้าเรายกกำลังแบบวิธีธรรมดาทั่วไปคงทำไม่ได้  ฉนั้นเรามาดูว่าทฤษฏีบทนี้มีใจความสำคัญว่าอย่างไร 

จำนวนจริง ( Real Number )-คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

1. จำนวนอตรรกยะ หมายถึง จำนวนที่ไม่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็ม หรือทศนิยมซ้ำได้ ตัวอย่างเช่น √2 , √3, √5, -√2, – √3, -√5 หรือ ¶ ซึ่งมีค่า 3.14159265…