กราฟแบบแฮมิลตัน

กราฟแบบแฮมิลตัน บทที่6 กราฟแบบแฮมิลตัน แฮมิลตันได้ริเริ่มการคิดว่าจะเดินทางอย่างไรให้ผ่านเมืองสําคัญแต่ละแห่งเพียง ครั้งเดียวแล้วกลับมายังที่เดิมได้ บทนิยาม กราฟหรือทุกกราฟ G ซึ่งมีวงเยียนที่รวมทุกจุดใน G เรียกว่าเป็น กราฟแบบแฮมิลตัน ส่วนวิถีซึ่งรวมทุกจุดใน G เรียกว่า วิถีแบบแฮมิลตัน

กราฟแบบออยเลอร์

กราฟแบบออยเลอร์ อยเลอร์ได้ให้ทฤษฎีที่เกี่ยวกับปัญหานี้ไว้ดังนี้ เครือข่าย ที่แสดงเป็นกราฟจะประกอบด้วยจุดเชื่อมโยง (Vertices) และเส้นเชื่อมโยงระหว่างจุด เรียกว่า arcs   จุด ที่มีจำนวนเส้นที่เชื่อมออกไปยังจุดอื่นเป็นจำนวนคี่ เรียกว่า odd และถ้าจุดนั้นมีเส้นเชื่อมออกไปยังจุดอื่นเป็นจำนวนคู่ จะเรียกว่า even   เส้นทางออยเลอร์ คือเส้นทางที่ลากผ่านเส้นต่าง ๆ ในเครือข่าย โดยแต่ละเส้นลากผ่านได้เพียงครั้งเดียว   ทฤษฎีของออยเลอร์ กล่าวว่า ถ้าหากว่าเครือข่ายใดมีจุดที่เป็น odd มากกว่าสองขึ้นไป จะไม่มีทางสร้างเส้นทางออยเลอร์ได้

การหารลงตัว

การหารลงตัว การหารลงตัว นิยาม กาหนด เป็นจานวนเต็มใดๆ โดยที่ ≠ หาร ลงตัว ก็ต่อเมื่อ มีจานวนเต็ม ที่ทาให้ และเขียนแทน หาร ลงตัว ได้ด้วยสัญลักษณ์ จากนิยาม ถ้า b หาร a ไม่ลงตัว แสดงว่าไม่มีจานวนเต็ม n ที่ทาให้ a=bn และ เขียน แทน หาร a ไม่ลงตัว ได้ด้วยสัญลักษณ์  b†a

แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ สมดุลต่อการเคลื่อนที่

แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ สมดุลต่อการเคลื่อนที่ 1.การหาแรงลัพธ์ 2. การหาแรงลัพธ์ของ 2 แรง 3. การหาแรงลัพธ์ของ 3 แรง 4. การหาทิศของแรงที่กระทำต่อวัตถุจากลักษณะของการเคลื่อนที่

ตรรกศาสตร์ ม.4

ตรรกศาสตร์ ม.4

ตรรกศาสตร์ ม.4 ประพจน์ การเชื่อมประพจน์ ค่าความจริงของประพจน์ การสมมูลและนิเสธของประพจน์ สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล ตัวบ่งปริมาณและประโยคเปิด ประพจน์ คือ ประโยคที่บอกค่าความจริง (truth value)ได้ ว่าเป็นจริง (true) หรือ เท็จ(False) เพียงอย่างใดอย่าง หนึ่งเท่านั้น บอกเล่า หรือประโยคปฏิเสธก็ได้ ตัวอย่างประโยคที่ไม่เป็นประพจน์ 1. ประโยคค าถาม เช่น ใครกันนะ 2. ประโยคค าสั่ง เช่น จงนั่งลง 3. ประโยคขอร้อง เช่น ช่วยปิ ดหน้าต่างให้หน่อย 4. ประโยคอ้อนวอน เช่น โปรดเมตตาด้วยเถิด 5. ประโยคแสดงความปรารถนา เช่น ฉันอยากเป็นนก 6. ประโยคเปิด เช่น เขาเป็นดารานักร้อง การเชื่อมประพจน์ โดยปกติเมื่อกล่าวถึงข้อความหรือประโยคนั้นมักจะมีกริยามากกว่าหนึ่งตัว แสดงว่าได้นำประโยคมาเชื่อมกัน มากกว่าหนึ่งประโยค ดังนั้นถ้านำประพจน์มาเชื่อมกัน ก็จะได้ประพจน์ใหม่…

เรียนคณิตศาสตร์ ม.5 คณิตศาสตร์พื้นฐานเรื่อง ฟังก์ชัน

เรียนคณิตศาสตร์ ม.5 คณิตศาสตร์พื้นฐานเรื่อง ฟังก์ชัน

เรียนคณิตศาสตร์ ม.5 คณิตศาสตร์พื้นฐานเรื่อง ฟังก์ชัน บทที่ 2 ฟังก์ชัน 2.1 ฟังก์ชัน 2.2 ฟังก์ชันเชิงเส้น 2.3 ฟังก์ชันกำลังสอง 2.4 ฟังก์ชันขั้นบันได 2.5 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล ฟังก์ชันเชิงเส้นและฟังก์ชันกำลังสอง-ฟังก์ชัน ม.4 ฟังก์ชันเชิงเส้นและฟังก์ชันกำลังสอง ฟังก์ชันเชิงเส้น ฟังก์ชันเชิงเส้น คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = ax + b เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริง โดยที่ a 0 กราฟของฟังก์ชันเชิงเส้นจะเป็นเส้นตรง วิธีวาดกราฟฟังก์ชันเชิงเส้น ขั้นที่ 1 หาจุดตัดก่อน หาจุดตัดแกน x ให้ค่า y = 0 หาจุดตัดแกน y ให้ค่า x = 0 ขั้นที่ 2 ลากเส้นเชื่อมระหว่างจุด ฟังก์ชันกำลังสอง…

เรียนคณิตศาสตร์ ม.5 คณิตศาสตร์พื้นฐานเรื่องเลขยกกำลัง

เรียนคณิตศาสตร์ ม.5 คณิตศาสตร์พื้นฐานเรื่องเลขยกกำลัง

คณิตศาสตร์ ม.5 ตามหลักสูตรของ สสวท. (หลักสูตรใหม่ ฉบับปรับปรุงปี 2560) ซึ่งเป็นหลักสูตรอัพเดทล่าสุด และใช้มาจนถึงปีปัจจุบัน

ยูเนียน (Union) อินเตอร์เซกชัน (intersection)และคอมพลีเมนต์(Complement) ของเซต

ยูเนียน (Union) อินเตอร์เซกชัน (intersection)และคอมพลีเมนต์(Complement) ของเซต การดำเนินการของเซต    1. ยูเนียน ของ A และ B คือเซตที่เกิดจากการรวบรวมสมาชิกของ A และ B เข้าไว้ด้วยกัน    2. อินเตอร์เซกชัน ของ A และ B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่เหมือนกันของ A และ B    3. ผลต่าง A – B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกของ A ที่ไม่ใช่สมาชิกของ B    4. คอมพลีเมนต์ ของ A เขียนแทนด้วย A’ คือสับเซตของ U ที่ประกอบด้วยสมาชิกที่ไม่อยู่ ใน A ปฏิบัติการระหว่างเซต คือ การนำเซตต่าง ๆ…

บทสรุปเรื่อง พาราโบลา

บทสรุปเรื่อง พาราโบลา

บทสรุปเรื่อง พาราโบลา พาราโบลาคือเซตของจุดทุกจุดบนระนาบ ซึ่งอยู่ห่างจากเส้นตรงที่ เส้นหนึ่งบนระนาบและจุดคงที่จุดหนึ่ง บนระนาบนอกเส้นตรงคงที่นั้น เป็น ระยะทางเท่ากับเสมอ