เรียนเลขออนไลน์ ตรีโกณมิติ ม.5

เรียนเลขออนไลน์ ตรีโกณมิติ ม.5

เรียนเลขออนไลน์ ตรีโกณมิติ ม.5 ตรีโกณมิติ sin cos tan หากน้องๆ จำได้ ใน ม.3 ที่เราเรียนกันในอัตราส่วนตรีโกณมิติ sin cos tan ที่เราท่องหรือร้องเพลงกันว่า ”sin คือ ข้ามฉาก cos คือ ชิดฉาก tan คือ ข้ามชิด” อันนี้เป็นการประยุกต์ใช้ sin cos tan แบบง่ายกับสามเหลี่ยมมุมฉาก

เรียนเลขออนไลน์ จํานวนเฉพาะ ม.4

เรียนเลขออนไลน์ จํานวนเฉพาะม.4 ประวัติของจำนวนเฉพาะ บทความที่เกี่ยวข้อง ตัวประกอบ คืออะไร? การใช้งานตัวประกอบ จำนวนเฉพาะ คืออะไร? จำนวนเฉพาะ จาก 1-100 จำนวนเฉพาะ จาก 1-1,000 จำนวนเฉพาะ จาก 1-10,000 วิธีง่าย ๆ ในการหาจำนวนเฉพาะ การหาจำนวนเฉพาะ แบบไม่ใช้เครื่องคิดเลข การหาจำนวนเฉพาะ แบบใช้เครื่องคิดเลข เกร็ดความรู้ จำนวนเฉพาะ ที่มีค่าน้อยที่สุด จำนวนเฉพาะ ที่มีค่ามากที่สุด คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับจำนวนเฉพาะ จำนวนเฉพาะ คืออะไร? จะรู้ได้อย่างไรว่าจำนวนใด เป็นจำนวนเฉพาะ? ทำไม 2 จึงเป็นจำนวนเฉพาะ? ทำไม 1 ถึงไม่เป็นจำนวนเฉพาะ? จำนวนเฉพาะทั้งหมดตั้งแต่ 1 ถึง 100 คืออะไร? ประวัติของจำนวนเฉพาะสามารถย้อนกลับไปในสมัยกรีกโบราณ ซึ่งยุคลิดได้พิสูจน์ว่าจำนวนเฉพาะมีจำนวนนับไม่ถ้วน ตั้งแต่นั้นมา นักคณิตศาสตร์หลายคนได้มีส่วนร่วมอย่างมีนัยสำคัญในทฤษฎีจำนวนเฉพาะ รวมทั้งออยเลอร์ แฟร์มาต์ และเกาส์ ในเรื่องจำนวนเฉพาะ ตัวประกอบและการหาตัวประกอบ…

เรียนเลขออนไลน์ ฟังก์ชั่น ม.4

เรียนเลขออนไลน์ ฟังก์ชั่น ม.4

เรียนเลขออนไลน์ ฟังก์ชั่น ม.4 ความสัมพันธ์จาก A ไป B ให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ แล้ว r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ r เป็นสับเซตของ AB เขียนได้ว่า r = {(a,b) | (a,b) ∈ A×B} กราฟของความสัมพันธ์

เรียนเลขออนไลน์ จํานวนจริง ม.4

เรียนเลขออนไลน์ จํานวนจริง ม.4 ส่วนประกอบของจำนวนจริงสามารถสรุปได้ดังนี้ จำนวนจริงประกอบด้วย จำนวนอตรรกยะ และ จำนวนตรรกยะ ซึ่งเราจะพิจารณาในรายละเอียดได้ดังนี้

หลักตรรกวิทยาเบื้องต้น (Logic)

หลักตรรกวิทยาเบื้องต้น (Logic)

หลักตรรกวิทยาเบื้องต้น ตรรกศาสตร์ (Logic) เป็นแขนงหนึ่งของปรัชญา (Philosophy) ตรรก เป็นคำมาจากอินเดีย จึงจัดว่าเป็นศัพท์ทางตะวันออก ซึ่งอินเดียเป็นประเทศที่มีความเจริญมาก่อนประเทศทางตะวันตก

เรียนเลขออนไลน์ (A-Level คณิต) ตรรกศาสตร์

เรียนเลขออนไลน์ ตรรกศาสตร์ เนื้อหาเรื่อง ตรรกศาสตร์ (A-Level คณิต)  มีดังนี้ 1. การหาค่าความจริงของประพจน์, การสมมูลของประพจน์

จำนวนจริง(Real Number)

เรื่องจำนวนจริง ม.4 สรุปแบบเร็ว

จำนวนจริง(Real Number) จำนวนจริง (Real Number) ระบบจำนวนเลขเท่าที่มนุษย์คิดค้นพบในขณะนี้ประกอบด้วยเลขจำนวน 2 ระบบ คือ 1. ระบบจำนวนจริง (Real Number System) 2. ระบบจำนวนเชิงซ้อนประเภทจินตภาพ (Imaginary Number System) สรุปเป็นแผนภูมิได้ดังนี้ จำนวนตรรกยะ (Rational Number) คือ จำนวนที่สามารถเขียนในรูปเศษส่วน a/b เมื่อ a และ b เป็นจำนวนเต็มโดยที่ b ¹ 0 จำนวนตรรกยะ จำแนกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. จำนวนเต็ม (Integer) 2. เศษส่วน (Fraction) >>> จำนวนที่เขียนในรูปของเศษส่วนได้ เช่น 1/2, 2/3, 1/3, 50/49, 1, -1, 0…

แผนภาพของเวนน์–ออยเลอร์ และการดำเนินการของเซต

แผนภาพของเวนน์–ออยเลอร์ และการดำเนินการของเซต แผนภาพของเวนน์–ออยเลอร์ (Venn-Euler Diagram) เป็นแผนภาพที่นิยมใช้เขียนเพื่อแสดงความสัมพันธ์ของเซต เพื่อให้ดูง่ายและชัดเจนมากขึ้น ปกติจะกำหนดเอกภพสัมพัทธ์ด้วยกรอบสี่เหลี่ยมมุมฉาก ภายในนั้นมีเซตซึ่งอาจเขียนเป็นวงกลม วงรี หรือรูปปิดอื่นๆ สมมติเรามีเซตต่างๆ ดังภาพต่อไปนี้ จากรูป (a): A = {1, 2} B = {3, 4, 5} จะเห็นได้ว่า A และ B ไม่มีสมาชิกร่วมกันเลย ส่วนรูป (b): C = {a, b,c,d} D = {c,d, e, f, g} จะเห็นได้ว่าทั้งสองเซตนี้มีสมาชิกบางตัวร่วมกัน สำหรับรูป (c): E = {1,2, 3} F = {1,2} เอกภพสัมพัทธ์ (Relative Universe) คือ เซตที่ใช้กำหนดขอบเขตของสิ่งต่าง…