การเรียงลำดับจำนวนเต็มและค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็ม

การเรียงลำดับจำนวนเต็มและค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็ม

การเรียงลำดับจำนวนเต็มและค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็ม -การเรียงลำดับจำนวนลบ จำนวนลบ เป็นจำนวนเต็มที่มีเครื่องหมายเป็นลบ แสดงให้เห็นว่าเป็นจำนวนที่มีค่าน้อยกว่า 0 จำนวน -1, -2, -3, -4, -5 เป็นจำนวนลบ ยังเรียกว่า จำนวนเต็มลบ จำนวนเต็มลบ มีค่าตรงกันข้ามกับจำนวนบวก เช่น ค่าที่มากกว่าของจำนวนลบคือจำนวนที่ลบน้อยกว่า ยกตัวอย่างเช่น -7 มีค่าน้อยกว่า -5 ในขณะที่ 7 มีค่ามากกว่า 5

 เศษส่วนอย่างต่ำและเศษส่วนที่เท่ากัน

 เศษส่วนอย่างต่ำและเศษส่วนที่เท่ากัน

 เศษส่วนอย่างต่ำและเศษส่วนที่เท่ากัน ศษส่วน และการเปรียบเทียบเศษส่วน เศษส่วนคือ จำนวนที่ใช้บอกปริมาณที่ไม่เป็นจำนวนเต็ม ซึ่งจะเขียนในรูป ab เมื่อ a และ b เป็นจำนวนเต็ม โดยที่ b ≠ 0

คณิตศาสตร์พื้นฐาน

คณิตศาสตร์พื้นฐานเรื่องจำนวนเต็ม ม.1

คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 จำนวนเต็ม 1.1 จำนวนเต็ม 1.2 การบวกจำนวนเต็ม 1.3 การลบจำนวนเต็ม 1.4 การคูณจำนวนเต็ม 1.5 การหารจำนวนเต็ม 1.6 สมบัติของการบวกและการคูณจำนวนเต็ม รวมแบบฝึกหัดที่สำคัญหลากหลายรูปแบบวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตรงตามหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 โดยมีเนื้อหาครอบคลุมในแต่ละบท หลักการ                                                                 …

สรุปเลขเนื้อหาเรื่อง ความน่าจะเป็น (Probability) คืออะไร

สรุปเลขเนื้อหาเรื่อง ความน่าจะเป็น (Probability) คืออะไร

สรุปเลขเนื้อหาเรื่อง ความน่าจะเป็น (Probability) คืออะไร กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง กฎข้อที่ 1 ถ้าต้องการทำงานสองอย่างโดยที่งานอย่างแรกทำได้ n1วิธี และในแต่ละวิธีที่เลือกทำงานอย่างแรกนี้ มีวิธีที่จะทำงานอย่างที่สองได้ n2 วิธี จะทำงานทั้งสองอย่างนี้ได้ n1 n2 วิธี กฎข้อที่ 2 ถ้าต้องการทำงานอย่างหนึ่งมี k ขั้นตอน ขั้นตอนที่หนึ่งมีวิธีเลือกทำได้ n1วิธี ในแต่ละวิธีของขั้นตอนที่หนึ่งมีวิธีเลือกทำขั้นตอนที่สองได้ n2 วิธี ในแต่ละวิธีที่เลือกทำงานขั้นตอนที่หนึ่งและขั้นตอนที่สองมีวิธีเลือกทำขั้นตอนที่สามได้ n3วิธี เช่นนี้ เรื่อยไปจนถึงขั้นตอนสุดท้ายคือ ขั้นตอนที่ k ทำได้ nk วิธี จำนวนวิธีทั้งหมดที่จะเลือกทำงาน k อย่าง เท่ากับ n1 n2 n3 … nk วิธี กฎข้อที่ 3 จำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนสิ่งของ n สิ่ง ซึ่งแตกต่างกันทั้งหมด เท่ากับ n ! วิธี กฎข้อที่ 4 จำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนสิ่งของ n สิ่ง ซึ่งแตกต่างกันทั้งหมด โดยจัดทีละ r…

คณิตศาสตร์ (O-NET ม.6) สถิติ

คณิตศาสตร์ o-net ม.6 ปีการศึกษา 2565 

คณิตศาสตร์ (O-NET ม.6) สถิติ ค่ากลางของข้อมูล การวัดการกระจายของข้อมูล การหาตำแหน่งที่ของข้อมูล การวัดค่ากลางของข้อมูล

เลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ

เลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ

เลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ เรื่อง เลขยกกำลงั ที่มีเลขช้ีกำลัง เป็นจำนวนตรรกยะ ควำมหมำยและควำมแตกต่ำงของจำนวนตรรกยะ และอตรรกยะ

เลขยกกำลัง ฐาน และเลขชี้กำลัง

เลขยกกำลัง ฐาน และเลขชี้กำลัง

เลขยกกำลัง ฐาน และเลขชี้กำลัง เลขชี้กำลังเป็นจำนวนคี่ สำหรับฐานที่เป็นจำนวนลบ จะเห็นว่า (-5)3 เท่ากับ -53 แต่ (-5)3 ไม่เท่ากับ 53 ถ้าฐานเป็นจำนวนลบ เลขชี้กำลังเป็นจำนวนคี่ > ได้ผลลัพธ์เป็นจำนวนลบ

เลขยกกำลังและราก

เลขยกกำลังและราก เลขยกกำลังและราก เลขยกกำลัง การยกกำลังคือการดำเนินการทางคณิตศาสตร์อย่างหนึ่ง เขียนอยู่ในรูป  an aซึ่งประกอบด้วยสองจำนวนคือ ฐาน(a ) และเลขชี้กำลัง (n )  การยกกำลังมีความหมายเหมือนการคูณซ้ำ ๆ กัน นั่นเอง และสำหรับเนื้อหาใน

เลขยกกำลัง ฐาน และเลขชี้กำลัง

เลขยกกำลัง ฐาน และเลขชี้กำลัง

เลขยกกำลัง ฐาน และเลขชี้กำลัง จำนวนที่สามารถเป็นฐานได้มีหลายรูปแบบ เช่น จำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ เศษส่วน ทศนิยม ยกตัวอย่างเช่น 24 (-2)4 ()2 0.45  ข้อสังเกต: อ่านไม่เหมือนกัน ผลลัพธ์ไม่เท่ากัน