คณิตศาสตร์ ใช้สูตรผลต่างกำลังสอง
คณิตศาสตร์ ผลต่างของกำลังสอง ถ้า A และ B เป็นพหุนาม อาจแยกตัวประกอบของพหุนามที่เป็นผลต่างของกำลังสอง ได้ดังนี้ A² – B² = (A + B)(A – B)
คณิตศาสตร์ ผลต่างของกำลังสอง ถ้า A และ B เป็นพหุนาม อาจแยกตัวประกอบของพหุนามที่เป็นผลต่างของกำลังสอง ได้ดังนี้ A² – B² = (A + B)(A – B)
คณิตศาสตร์เรื่องพหุนาม พหุนามคืออะไร พหุนาม ในคณิตศาสตร์ หมายถึง นิพจน์ที่สร้างจากตัวแปรอย่างน้อยหนึ่งตัวและสัมประสิทธิ์ โดยใช้การดำเนินการแค่ การบวก การลบ การคูณ และการยกกำลังโดยที่เลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบเท่านั้น ตัวอย่างของพหุนามตัวแปรเดียวที่มี x เป็นตัวแปร เช่น x2 − 4x + 7 ซึ่งเป็นพหุนามกำลังสอง
การวัด ความเป็นมาของการวัด ความเป็นมาของการวัด ในสมัยโบราณบรรพบุรุษของเรายังไม่มีเครื่องมือที่เป็นมาตรฐานเกี่ยวกับการวัดรยะยะทาง เวลา พื้นที่ และปริมาตร การสื่อความหมายเกี่ยวกับการวัดของคนสมัยนั้นอาศัยสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ หรือกิจกรรมที่ทำกันเป็นกิจวัตรเป็นเครื่องมือในการบอกระยะทาง เวลา พื้นที่ และปริมาตร ซึ่งเป็นการสื่อความหมายเกี่ยวกับการวัดที่ได้จากการสังเกตและการคาดคะเนอย่างหยาบๆ ทำให้บางครั้งเกิดปัญหาการสื่อความหมายไม่ตรงกัน เช่นการสื่อความหมายเกี่ยวกับระยะทาง – บ้านกำนันอยู่ห่างจากบ้านของเราประมาณสองคุ้งน้ำ
คณิตศาสตร์ม.2 เรื่องเส้นขนาน เส้นตรงสองเส้นที่อยู่ระนาบเดียวกัน ขนานกันก็ต่อเมื่อเส้นตรงทั้งสองเส้นนั้นไม่ตัดกัน ระยะห่างระหว่างเส้นขนานจะเท่ากันเสมอ
สมบัติของจำนวนเต็ม สมบัติการสลับที่ของจำนวนเต็ม เมื่อให้ a และ b เป็นจำนวนเต็มใดๆ สมบัติการสลับที่การบวก : a + b = b + a สมบัติการสลับที่การคูณ : a x b = b x a หมายเหตุในการจดจำ การลบไม่มีคุณสมบัติการสลับที่ แต่น้องๆสามารถเปลี่ยนการลบให้อยู่ในรูปการบวกได้ และมันจะสามารถสลับที่กันได้ตามสมบัติการบวก เช่น 12 – 6 = 12 + (-6) ดังนั้น 12 – 6 = (-6) + 12…
สมบัติจำนวนจริง สมบัติการเท่ากันของจำนวนจริง กำหนด a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ 1. สมบัติการสะท้อน a = a
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องจำนวนเต็ม จำนวนเต็ม ม.1 จำนวนเต็มคืออะไร
คณิตศาสตร์กับการพัฒนาโลกมนุษย์ การศึกษาค้นคว้าวิจัยของนักวิทยาศาสตร์ ทำให้พบว่ามีหลากหลายทฤษฎีว่าด้วยการกำเนิดจักรวาล โลก และการเกิดของระบบสุริยะในกลุ่มดาวขนาดใหญ่ที่เรียกว่า แกแลกซี ระบบสุริยะที่เราอาศัยนี้อยู่ในกลุ่มของแกแลกซี่ของเรา (our galaxy) ซึ่งก็คือทางช้างเผือกที่เราเห็นบนท้องฟ้ายามค่ำคืน