ความสัมพันธ์เชิงคณิตศาสตร์

ความสัมพันธ์เชิงคณิตศาสตร์

ความสัมพันธ์เชิงคณิตศาสตร์           ความสัมพันธ์เป็นหัวข้อทางคณิตศาสตร์ที่มีบทบาทมากในการวิเคราะห์ความเกี่ยวข้องกันระหว่างสมาชิกในเซตเดียวกับหรือสมาชิกต่างเซตกัน โดยสมาชิกที่สัมพันธ์กันจะถูกเขียนในรูปของคู่อันดับ ถ้าเราให้ S เป็นเซตของนักเรียน และ C เป็นเซตของวิชา ถ้านักเรียนคนที่ s ได้ลงเรียนวิชา c นั้นคือนักเรียน s และวิชา c สัมพันธ์กันในลักษณะของการลงเรียนวิชาเขียนแทนด้วยคู่อัน (s,c) โดยที่คู่อันดับ (s,c) เป็นสมาชิกของผลคูณคาร์ทีเซียน S x C  เมื่อเรารวบรวมคู่อัน (s,c) ทั้งหมดเราจะได้เซตที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของนักเรียนกับวิชาที่เรียน นอกจากนี้หากนักเรียน s ได้ลงเรียนวิชา c1, c2 และ c4 เราสามารถแทนด้วยคู่อันดับ ( s, { c1, c2, c4 } ) ซึ่งเป็นสมาชิกของผลคูณคาร์ทีเซียน S x P(C) โดยที่ P(C) คือเพาเวอร์เซตของเซต C ตัวอย่างที่ 1 กำหนดให้ A =…

ความลึกจริง ลึกปรากฏ

ความลึกจริง ลึกปรากฏ การที่เราเห็นวัตถุในน้ำอยู่ตื้นจากเดิม เพราะอากาศมีดัชนีหักเหน้อยกว่าน้ำ ดังนั้น มุมหักเหของแสงในอากาศจึงมากกว่ามุมตกกระทบในน้ำ  ภาพเเสดงความลึกจริง ลึกปรากฏ

ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับแสง

ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับแสง

.การกระจายของแสง(Dispersion of light)      เมื่อฉายแสงขาวจากหลอดไฟประเภทจุดไส้สว่าง หรือแสงจากดวงอาทิตย์ให้ผ่านปริซึม แสงขาวจะกระจายออกเป็นแสงสีต่างๆ เรียงตามลำดับความถี่มากไปน้อย คือ ม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง ส้ม และ แดง แถบของแสงสีที่กระจายออกจากแสงขาว เรียกว่า สเปกตรัมของแสงขาว (Spectrum of white light)

 การอธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติ -ฟิสิกส์ออนไลน์

 การอธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติ -ฟิสิกส์ออนไลน์

 การอธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติ       – ในสมัยโบราณ มนุษย์เชื่อว่าปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในธรรมชาติเกิดขึ้นจาก เทพเจ้า หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ การอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ยังไม่มีความเป็นเหตุเป็นผล

สรุปคณิตศาสตร์ม.2 เรื่องสถิติ เรียนอะไรบ้าง

สรุปคณิตศาสตร์ม.2 เรื่องสถิติ เรียนอะไรบ้าง

สรุปคณิตศาสตร์ม.2 เรื่องสถิติ เรียนอะไรบ้าง สถิติคือตัวเลขที่ใช้บรรยายเหตุการณ์หรือข้อเท็จจริง มานำเสนอในรูปแบบต่างๆ

การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น‎-การแจกแจงความถี่ของข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น‎-การแจกแจงความถี่ของข้อมูล    หลังจากที่กำหนดตัวแปรที่ต้องการศึกษา และมีการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับตัวแปรที่ต้องการศึกษาแล้ว ข้อมูลที่เก็บได้เรียกว่า ข้อมูลดิบ (Raw Data) เช่น ต้องการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสถิติ ก็จะมีการสร้างแบบทดสอบวิชาสถิติขึ้นมา นาไปสอบกับกลุ่มนักเรียนที่ต้องการวัด แล้วตรวจคะแนน คะแนนที่ได้เรียกว่า ข้อมูลดิบ (Raw Data) หรือคะแนนดิบ ซึ่งข้อมูลดิบนี้ยังไม่มีความหมายอะไร วิธีเบื้องต้นที่จะทำให้ข้อมูลดิบนั้นมีความหมายคือการแจกแจงความถี่ ซึ่งจะสามารถทำให้ข้อมูลนั้นสามารถเอาไปใช้ได้ง่ายขึ้น และสังเกตการเปลี่ยนแปลงต่างๆได้ง่ายขึ้นด้วย

คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.2 สถิติ แผนภาพจุด และ แผนภาพต้นใบ

คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.2 สถิติ แผนภาพจุด และ แผนภาพต้นใบ

คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.2 สถิติ แผนภาพจุด และ แผนภาพต้นใบ การแจกแจงความถี่โดยใช้กราฟ การแจกแจงความถี่โดยใช้กราฟ กราฟที่ใช้แสดงการแจกแจงความถี่ มีดังนี้

 วิธีจัดหมู่ ( COMBINATION )

 วิธีจัดหมู่ ( COMBINATION )

 วิธีจัดหมู่ ( COMBINATION )   วิธีจัดหมู่  คือ วิธีการจัดสิ่งของที่แตกต่างกันออกเป็นกลุ่ม หรือ หมู่โดย ไม่คำนึงถึงอันดับ  เช่น  การจัดหมู่ตัวอักษร A , B และ C  ออกเป็นหมู่ละ 2 ตัวอักษร

ทฤษฎีบททวินาม-คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

ทฤษฎีบททวินาม ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงสูตรของการกระจาย    (  x  +  y  )2    เมื่อ  x, y  เป็นจำนวนจริงใดๆ  และ  n  เป็นจำนวนเต็มบวก พิจารณาการกระจายต่อไปนี้

ความน่าจะเป็นและกฏที่สำคัญบางประการของความน่าจะเป็น

ความน่าจะเป็นและกฏที่สำคัญบางประการของความน่าจะเป็น ความน่าจะเป็น        การทดลองสุ่ม ( Random experiment) คือการทดลองที่ไม่สามารถทำนายผลลัพธ์ได้อย่างถูกต้อง