การเปลี่ยนฐานของลอกาลิทึม

สมบัติของลอการิทึม วันนี้นั่งสอนเด็กๆแก้สมการลอการิทึม ปัญหาที่พบคือแก้สมการลอการิทึมไม่ได้สาเหตุที่แก้ไม่ได้คือดูโจทย์แล้วไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นยังไง ซึ่งการที่เราจะแก้สมการลอการิทึมได้เราต้องรู้จักคุณสมบัติของลอการิทึมและนำคุณสมบัตินี้ไปใช้ในการแก้สมการซึ่งวันนี้ผมจะสรุปสมบัติทั้งหมดที่จำเป็นต้องนำไปใช้และจะแสดงตัวอย่างการแก้สมการให้ได้ดู

ถ้าอยากเรียนเข้าหมอ ทำไมคณิต9สามัญต้อง 70คะแนนขึ้น

ถ้าอยากเรียนเข้าหมอ ทำไมคณิต9สามัญต้อง 70 คะแนนขึ้น 1. วิชาคณิตศาสตร์ต้องเป็นวิชาฉุดขึ้นไม่ใช่วิชาดึงลง การทำคะแนนคณิตศาสตร์ 9 วิชาสามัญ ให้ เกิน 70 คะแนน ไม่ยากเกินไป เพราะขอบเขตที่ออกสอบชัดเจน ตรงไหนไม่เคยออก ก็มักจะไม่ออก ตรงไหนออกบ่อยๆ เดี๋ยวมันก็ออกอีก ดูได้จากข้อสอบจริงทั้ง 8 ครั้งที่สอบมา ( ปี 55-ปี 62 ) ที่สำคัญใช้เวลาอ่าน และฝึกทำข้อสอบไม่มากเท่า PAT1 เพราะเนื้อหาการสอบน้อยกว่า PAT1

วิธีการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร

วิธีการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร

วิธีการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรโดยการกำจัดตัวแปร

การแยกตัวประกอบสองวงเล็บ

การแยกตัวประกอบพหุนามสองวงเล็บ

การแยกตัวประกอบพหุนามสองวงเล็บ การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสองและมีตัวแปรเดียวที่แต่ละพจน์มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม             ตัวอย่าง   ของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว 3×2+ 4x + 5 , 2×2– 6x – 1 , x2– 9 , y2+ 3y – 7 , -y2+ 8y พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว คือ พหุนามที่เขียนในรูป  ax2 + bx + c  เมื่อ  a , b , c  เป็นค่าคงตัวที่   a ≠ 0  และ  x  เป็นตัวแปร 1.2.1  การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว                      ในรูป  ax2 + bx + c  เมื่อ  a , b  เป็นจำนวนเต็ม และ  c  =  0                      ในกรณีที่  c = 0  พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวจะอยู่ในรูป  ax2+ bx  สามารถใช้สมบัติการแจกแจงแยกตัวประกอบได้…

ตัวประกอบของจำนวนนับ

ตัวประกอบของจำนวนนับ   ตัวประกอบ หมายถึง จำนวนนับที่หารจำนวนนับที่เรากำหนดให้ได้ลงตัว เช่น a จะเป็นตัวประกอบของ b ก็ต่อเมื่อ b หารด้วย a ลงตัว หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ a หาร b ลงตัว

จำนวนและพีชคณิต

จำนวนและพีชคณิต-คณิตศาสตร์ ม.ต้น

จำนวนและพีชคณิต เลขยกกำลัง กรณฑ์ที่ n และ สแควรูท จำนวนเต็ม จำนวนจริง อัตราส่วนและร้อยละ คู่อันดับและกราฟ เศษส่วน ทศนิยม พาราโบลา การวัด พหุนาม สมการเส้นตรง การแก้สมการ การแยกตัวประกอบ สมการเชิงเส้นสองตัวแปร ระบบจำนวนจริง พีชคณิตเป็นคณิตศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบโครงสร้างกับการดำเนินการของวัตถุเชิงคณิตศาสตร์ ในบทเรียนนี้จึงเป็นการศึกษาพีชคณิตระบบจำนวนจริงในระบบมัธยมศึกษาตอนต้นประกอบด้วย 1) วัตถุหรือสัญลักษณ์ในระบบซึ่งก็คือจำนวนจริง 2) นิพจน์เชิงพีชคณิตซึ่งเป็นกลุ่มก้อนของสมาชิกในระบบ 3) การแยกตัวประกอบเสมือนการจำแนกองค์ประกอบของนิพจน์ 4) ความสัมพันธ์เส้นตรงเชิงเปรียบเทียบในรูปของประโยคสัญลักษณ์สมการและอสมการเส้นตรง และ 5) ความสัมพันธ์กำลังสองเชิงเปรียบเทียบในรูปของประโยคสัญลักษณ์สมการและอสมการกำลังสอง และ 6) ความสัมพันธ์เชิงสัดส่วน ซึ่งเป็นพื้นฐานที่สำคัญมากต่อการศึกษาคณิตศาสตร์ขั้นสูง