สรุปเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.4 หลักสูตรใหม่
คณิตศาสตร์ ม.4 จะมีทั้งคณิตศาสตร์ม.4 พื้นฐาน และคณิตศาสตร์ม.4 เพิ่มเติม ซึ่งตามหลักสูตรใหม่ล่าสุดของสสวท. ฉบับปรับปรุงปี 2560 ที่ใช้มาถึงปัจจุบันจะมี
คณิตศาสตร์ ม.4 จะมีทั้งคณิตศาสตร์ม.4 พื้นฐาน และคณิตศาสตร์ม.4 เพิ่มเติม ซึ่งตามหลักสูตรใหม่ล่าสุดของสสวท. ฉบับปรับปรุงปี 2560 ที่ใช้มาถึงปัจจุบันจะมี
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ เรื่อง เรขาคณิตวิเคราะห์ สรุปสูตนรชาคณิตวิเคราะห์
คณิตศาสตร์เรื่อง ภาคตัดกรวย พาราโบลา พาราโบลา กราฟพาราโบลาอาจวางตัวได้หลายแบบ ตอนนี้เราจะพิจารณาการวางตัวของกราฟ เพียง 2 ลักษณะคือ วางตัวตามแนวแกน x (กราฟตะแคงขวา, ซ้าย) และตามแนวแกน y (กราฟหงาย, คว่ำ)
ภาคตัดกรวย วงรี วงรี จากวงกลมเราก็จะมาต่อกันที่ วงรี การสร้างวงรีอาจพิจารณาได้ว่าคล้ายกับการวาดวงกลมนั่นเอง แต่เราจะทำการลดหรือขยายขนาดให้วงกลมกลายร่างเป็นวงรี โดยการเพิ่มตัวคูณที่เทอม x2 หรือ y2 ซึ่งการสเกลแบบนี้ทำให้เรากำหนดได้ว่า วงรีจะอ้วน จะรีแค่ไหน หรือวางตัวในทิศของแกนใดเป็นหลัก เราอาจแบ่งวงรีออกเป็น 2 แบบ ตามลักษณะการวางตัวตามแนวแกน x และแกน y ดังนี้
ภาคตัดกรวย วงกลม สมการรูปมาตรฐาน สมการรูปทั่วไป
เรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย สรุปเนื้อหา เรขาคณิตวิเคราะห์ และภาคตัดกรวย 1) จุดกึ่งกลาง
ตรรกศาสตร์ เป็นการศึกษา โดยมักจะเป็นส่วนสำคัญของวิชาปรัชญา คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ รวมถึงภาษาศาสตร์ ตรรกศาสตร์เป็นการตรวจสอบข้อโต้แย้งที่สมเหตุสมผล (valid argument) หรือการให้เหตุผลแบบผิดๆ (fallacies) ตรรกศาสตร์ เป็นสาขาวิชาหนึ่งโดย อริสโตเติล
การแก้สมการและอสมการในรูปค่าสัมบูรณ์ หน่วยการเรียนรู้ ค่าสัมบูรณ์ เรื่อง สมการค่าสัมบูรณ์พหุนามตัวแปรเดียว ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผลิตขึ้นเพื่อให้ครูในโรงเรียนทั่วประเทศได้ใช้ประกอบการสอนวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้เครื่องคำนวณวิทยาศาสตร์ ให้นักเรียนสามารถแก้สมการและอสมการค่าสัมบูรณ์ของพหุนามตัวแปรเดียว และนำไปใช้ในการแก้ปัญหารวมถึงมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์มากขึ้น
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ การประยุกต์เกี่ยวกับร้อยละ ในชีวิตประจำวันของเราเนียะเราจะพบเห็นตลอดเลยสิ่งต่างๆที่เกี่ยวข้องกับร้อยละ เช่นพวกป้ายต่างๆ โดยเฉพาะป้ายฉลากสินค้าลดราคา เช่น รองเท้าคู่นี้ลดราคา 2% หรือการโฆษณาข่าวสารต่างๆในทีวีโทรทัศน์เช่น ปีนี้ประเทศไทยส่งออกข้าวสารไปยังต่างประเทศเพิ่มขึ้น 3% เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว เป็นต้น นี่คือการประยุกต์หรือเหตุการที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ร้อยละ