การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อมต่างๆ

การหาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อม 1 ตัวเชื่อม

ตัวเชื่อมประพจน์และค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อม การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อมต่างๆ    โดยปกติเมื่อกล่าวถึงข้อความหรือประโยคนั้นมักจะมีกริยามากว่าหนึ่งตัว แสดงว่าได้นำประโยคมาเชื่อมกัน มากกว่าหนึ่งประโยค ดังนั้นถ้านำประพจน์มาเชื่อมกัน ก็จะได้ประพจน์ใหม่ ซึ่งสามารถบอกได้ว่าเป็นจริงหรือเป็นเท็จ ตัวเชื่อมประพจน์ที่มีอยู่ 5 ตัว และตัวเชื่อมที่ใช้กันมากในตรรกศาสตร์ คือ และ หรือ ถ้าแล้ว ก็ต่อเมื่อ ไม่ กำหนดให้ p และ q เป็นประพจน์ใดๆ เราสามารถเชื่อมประพจน์ทั้งสองเข้าด้วยกันได้ โดยอาศัยตัวเชื่อมประพจน์ดังต่อไปนี้

การสร้างตารางค่าความจริง-ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4-ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4

การสร้างตารางค่าความจริง-ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ม.4 ตารางเรียงลำดับคุมความของลักษณ์จากมากไปหาน้อย

การเชื่อม (Conjunction)-ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 

การเชื่อม (Conjunction)-ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 

การเชื่อมประพจน์ โดยปกติเมื่อกล่าวถึงข้อความหรือประโยคนั้นมักจะมีกริยามากกว่าหนึ่งตัว แสดงว่าได้นำประโยคมาเชื่อมกัน มากกว่าหนึ่งประโยค ดังนั้นถ้านำประพจน์มาเชื่อมกัน ก็จะได้ประพจน์ใหม่ ซึ่งสามารถบอกได้ว่าเป็นจริงหรือเป็นเท็จ ตัวเชื่อมประพจน์มีอยู่ 5 ตัว และตัวเชื่อมที่ใช้กันมากในตรรกศาสตร์คือ และ หรือ ถ้า…แล้ว ก็ต่อเมื่อ  ไม่

ตัวดำเนินการแบบสัมพันธ์ (Relational Operators)

ตัวดำเนินการทางตรรกะ – ตัวดำเนินการแบบสัมพันธ์ (Relational Operators) คณิตศาสตร์ ม.ปลาย  

ตัวดำเนินการทางตรรกะ ตัวดำเนินการแบบสัมพันธ์ (Relational Operators)           คือตัวดำเนินการที่ทำหน้าที่เปรียบเทียบค่าระหว่างตัวแปรสองตัว หรือนิพจน์สองนิพจน์ โดยจะคืนค่าเป็นจริงหรือเท็จ (Boolean)  

ประพจน์ Proposition หรือ Statement

ประพจน์ Proposition , Statement ประพจน์ (Proposition ,Statement)  หมายถึง  ประโยชน์หรือข้อความ  ที่มีค่าความจริงเป็นจริง  หรือเป็นเท็จเพียงค่าใดค่าหนึ่งเท่านั้น  ซึ่งอาจอยู่ในประโยคบอกเล่าหรือประโยคปฏิเสธก็ได้

ม.ปลาย

การทดลองสุ่ม ( Random Experiment ) คณิตศาสตร์  ม.ปลาย

การทดลองสุ่ม ( Random Experiment ) คือ การทดลองที่เราไม่สามารถบอกล่วงหน้าได้ว่าผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากแต่ละการกระทาจะเป็นอะไร แต่สามารถบอกได้ว่ามีผลลัพธ์อะไรบ้างที่จะเกิดขึ้นได้ เช่น โยนเหรียญบาท 1 เหรียญ 1 ครั้ง หน้าที่หงายขึ้นอาจออกหัวหรืออกก้อย ทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง หน้าที่หงายขึ้นอาจเป็นแต้ม 1, 2, 3, 4, 5 หรือ 6 แต่เราไม่รู้ว่าจะเกิดแต้มอะไรแน่นอน

ความน่าจะเป็น ( Probability )เรื่อง ปริภูมิตัวอย่าง ( Sample space )

ความน่าจะเป็น ( Probability )เรื่อง ปริภูมิตัวอย่าง ( Sample space ) คณิตศาสตร์ ม.ปลาย

ความน่าจะเป็น ( Probability )เรื่องปริภูมิตัวอย่าง ( Sample space ) แซมเปิลสเปซ (sample space) คือ เซตที่มีสมาชิกเป็นผลลัพธ์ที่อาจจะเป็นไปได้ทั้งหมดของการทดลองสุ่ม เขียนแทนด้วย s และจำนวนของ แซมเปิลสเปซ เขียนแทนด้วย n(S)

ความน่าจะเป็น (Probability)-คณิตศาสตร์ม.ปลาย

ความน่าจะเป็น (Probability) ทฤษฎีความน่าจะเป็นเริ่มมาจากปัญหาของการเล่นเกมการพนัน โดยมีนักพนันชาวฝรั่งเศสชื่อ เซอวาลิเยร์ เดอ เมเร (Chevalier de Mire) ซึงนิยมเล่นพนันมาก เดอ เมเร มีปัญหาอยู่อย่างนึงที่ยังแก้ไม่ตกสักที คือปัญหาในการแบ่งเงินพนันกันระหว่างนักพนัน แกเลยเข้าไปขอคำแนะนำจากนักคณิตศาสตร์ที่ปราดเปรื่องที่สุดในฝรั่งเศสยุคนั้น คือปาสคาล (Pascal) และแฟร์มาต์ (Fermat) จนเป็นที่มาของทฤษฎีความน่าจะเป็นในยุคปัจจุบัน

การใช้ Past Continuous เหตุการณ์ที่กำลังดำเนินอยู่ในอดีต While, When, As

การใช้ Past Continuous เหตุการณ์ที่กำลังดำเนินอยู่ในอดีต While, When, As

การใช้ Past Continuous การใช้ Past Continuous เหตุการณ์ที่กำลังดำเนินอยู่ในอดีต ซึ่งเหตุการณ์ที่กำลังเกิดอยู่ใช้ Past Continuous (Subject + was,were + V.ing) เหตุการณ์ที่เข้ามาแทรกใช้ Past Simple (Subject + V.2) While  ขณะที่ As  ขณะที่ When  เมื่อ