เนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.4-ม.5-ม.6 เทอม 1 เรียนอะไรบ้าง?
เนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.4 เทอม 1 มี 3 บทเรียน ดังนี้ บทที่ 1 เซต ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเซต แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ การดำเนินการระหว่างเซต คุณสมบัติของการดำเนินการระหว่างเซต การแก้ปัญหาโดยใช้เซต
เนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.4 เทอม 1 มี 3 บทเรียน ดังนี้ บทที่ 1 เซต ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเซต แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ การดำเนินการระหว่างเซต คุณสมบัติของการดำเนินการระหว่างเซต การแก้ปัญหาโดยใช้เซต
พื้นฐานสู่ความถนัดคณิตศาสตร์ ม.4 เทอม 1 เซต ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ตรรกศาสตร์ จำนวนจริงเบื้องต้น (สำหรับน้อง ๆ ที่ต้องการปรับพื้นฐานให้แน่นก่อนเรียน เรื่อง จำนวนจริง) จำนวนจริง เมทริกซ์ ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
ทฤษฎีจำนวนพื้นฐาน ตามหลักการทางคณิตศาสตร์ จำนวนธรรมชาติ (natural number) อาจนิยามได้ในรูปแบบตามหลักการของทฤษฎีจำนวน ก็คือ จำนวนเต็มบวก หรือ จำนวนนับ (1, 2, 3, 4, …) แต่หาในกรณีนิยามในรูปแบบของหลักการในเชิงเซต ตรรกศาสตร์ และวิทยาการคำนวณ อาจกล่าวได้ว่า 0 เป็นจำนวนธรรมชาติตัวแรก หรือนิยามได้ว่า จำนวนธรรมชาติ คือ จำนวนเต็มไม่เป็นลบ (0, 1, 2, 3, 4, …) หรือสรุปได้ว่า จำนวนธรรมชาติ เป็นจำนวนที่เกิดขึ้นในทางธรรมชาติโดยธรรมดา ชัดเจน ไม่ซับซ้อน เช่น จำนวนไม่เป็นลบทั้งหมด อาจเขียนเซต ของ จำนวนธรรมชาติ โดยใช้สัญลักษณ์ N ซึ่งสามารถกำหนดได้สองรูปแบบ คือ N = {0, 1, 2, 3, …} และ N =…
เวกเตอร์และสเกลาร์ ปริมาณเวกเตอร์ (Vector quantity) คือ ปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง จึงจะได้
ฟังก์ชันคอมโพสิท (ฟังก์ชันประกอบ) เป็นการกระทำกันระหว่างฟังก์ชันตั้งแต่ 2 ฟังก์ชันขึ้นไป ให้ f และ g เป็นฟังก์ชัน สำหรับฟังก์ชันที่เป็นเซตแบบแจกแจงเช่น f = {(1,3),(2,4),(3,5)} g = {(5,1),(3,2),(4,3)}
ลําดับเลขคณิตและลำดับเรขาคณิต ม.5
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน(Relations and Functions) ความสัมพันธ์ที่เป็นฟังก์ชัน การตรวจสอบความสัมพันธ์ที่เป็นฟังก์ชัน สามารถทำได้โดยใช้บทนิยามของฟังก์ชัน
ระบบจำนวนเชิงซ้อนประเภทจินตภาพ การใช้ความรู้เดิมเชื่อมโยงความรู้ใหม่ (Prior Knowledge) พิจารณา สมการพหุนามบางสมการในระบบจำนวนจริง
ตรีโกณมิติ ม.5 (Trigonometry) บทเรียน 1.วางพื้นค่า sin- ,cos- จากสามเหลี่ยมมุมฉาก และจากวงกลม 1 หน่วย
จำนวนเชิงซ้อน ม.5 นิยามของจำนวนเชิงซ้อน 1. จำนวนเชิงซ้อน คือ คู่อันดับ (a,b) เมื่อ a และ b นั้นเป็นสมาชิกของจำนวนจริงซึ่งการบวก การคูณและการเท่ากันของจำนวนเชิงซ้อนนั้นกำหนดดังนี้