การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองที่มีตัวแปรเดียว

การแยกตัวประกอบของพหุนาม-คณิตศาสตร์ออนไลน์

1. การแยกตัวประกอบของพหุนาม คือ การเขียนพหุนามนั้นในรูปการคูณกันของพหุนามที่มีดีกรีต่ำกว่าพหุนามเดิมตั้ง  แต่สองพหุนามขึ้นไป

การหา ห.ร.ม. โดยขั้นตอนวิธีแบบยุคลิด

ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น-การหา ห.ร.ม. โดยขั้นตอนวิธีแบบยุคลิด (Euclid) 

ยูคลิด (Euclid) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวกรีก ซึ่งมีชีวิตอยู่ประมาณ 325 – 265 ปีก่อนคริสต์ศักราช ได้กล่าวถึงการหารร่วมมาก หรือ ห.ร.ม. ของจำนวนนับสองจำนวน ที่มีค่ามากได้อย่างรวดเร็วด้วยวิธีที่เรียกว่า ขั้นตอนวิธีแบบยูคลิด

 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นกำลังสองสมบูรณ์

  การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นกำลังสองสมบูรณ์

  การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นกำลังสองสมบูรณ์                        พิจารณาการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองต่อไปนี้

ทฤษฎีบทเศษเหลือพหุนาม

ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น-ทฤษฎีบทเศษเหลือพหุนาม ม.4

ทฤษฎีบทเศษเหลือพหุนาม การแยกตัวประกอบพหุนาม เกริ่นกันสักนิดว่า เรื่องนี้สุดท้ายแล้วมันจะไปช่วยเรา ในการ แก้สมการและอสมการ ที่เราจะเรียนกันในบทต่อ ๆ ไป ของจำนวนจริง ม.4 เพราะหากเรา พหุนามดีกรีก้อนใหญ่ เราจะไม่สามารถทำอะไรมันต่อได้เลย ยกเว้นการแยกตัวประกอบและพยายาม จัดรูปหรือตัดทอน

สมบัติการเท่ากันของจำนวนจริง

สมบัติการเท่ากันของจำนวนจริง

   สมบัติของจำนวนจริง มีความสำคัญต่อการดำเนินการทางคณิตศาสตร์ของจำนวนต่างๆในระบบจำนวนจริง การดำเนินการนี้หมายถึงการบวกและการคูณ ความรู้เกี่ยวกับสมบัติของจำนวนจริงมีความสำคัญเพราะเป็นพื้นฐานในการศึกษาขั้นสูงต่อไปทั้งทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ กล่าวคือ จำนวนจริงใดๆจะมีสมบัติการเท่ากัน สมบัติการบวก และสมบัติการคูณของจำนวนจริง ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ สมบัติการเท่ากันของจำนวนจริง