สเกลาร์และเวกเตอร์ (Scalar and Vector)

 สเกลาร์และเวคเตอร์ (Scalar and Vector) ปริมาณทางฟิสิกส์ที่ส าคัญมีอยู่ 2 อย่าง คือ ปริมาณสเกลาร์ และ ปริมาณเวคเตอร์ ปริมาณสเกลาร์(Scalar) คือ ปริมาณที่มีขนาดเพียงอย่างเดียว เช่น มวล (mass),

ผลคูณเชิงสเกลาร์ (Scalar Product or Product)

ผลคูณเชิงสเกลาร์ (Scalar Product or Product) ฟิสิกส์

ผลคูณเชิงสเกลาร์ (Scalar Product or Product) ผลคูณเชิงสเกลาร์  หมายถึง  ผลคูณของเวกเตอร์ที่ได้ผลลัพธ์เป็นสเกลาร์  ซึ่งนิยามในสองมิติ  และสามมิติ  ได้ดังนี้

การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ (โพรเจกไทล์,วงกลม,ทางโค้ง)ฟิสิกส์ ม.ปลาย

การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ (โพรเจกไทล์,วงกลม,ทางโค้ง)ฟิสิกส์ ม.ปลาย

การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ (โพรเจกไทล์,วงกลม,ทางโค้ง)ฟิสิกส์ ม.ปลาย การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์

แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่‎ – กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน

แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ 1. สืบค้นข้อมูลและอธิบายเกี่ยวกับมวล แรง แรงพื้นฐาน แรงลัพธ์ น้ำหนัก สภาพเสมือนไร้น้ำหนัก แรงกิริยา แรงปฏิกิริยา    แรงคู่ปฏิกิริยา ศูนย์กลางมวล ศูนย์ถ่วง

สรุปเนื้อหาเรื่อง จำนวนจริง

สรุปเนื้อหาเรื่อง จำนวนจริง

จำนวนอตรรกยะ จำนวนอตรรกยะคือจำนวนที่มีความหมายตรงกันข้ามกับจำนวนตรรกยะ จำนวนตรรกยะ (Rational Number) คือ จำนวนที่สามารถเขียนในรูปเศษส่วน a/b เมื่อ a และ b เป็นจำนวนเต็มโดยที่ b ¹ 0 จำนวนตรรกยะ จำแนกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ตัวอย่างของจำนวนอตรรกยะ เช่น จำนวนที่ติดอยู่ในค่าราก และไม่สามาถที่จะถอดค่ารากออกมาได้ เช่น 2√,3√,5√,7√32,3,5,73     เป็นต้น ทศนิยม ที่ไม่ใช่ ทศนิยมซ้ำ เช่น 0.23456543…,2.34543…,34.5678943…,34,45432411…0.23456543…,2.34543…,34.5678943…,34,45432411…  เป็นต้น จำนวนนอตรรกยะ ตัวหนึ่งที่น่าสนใจคือ  π π   ซึ่งเป็นอัตราส่วนระหว่างความยาวของเส้นรอบรูปวงกลมกับความยาวของเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม ข้อควรรู้ 1. ถ้าจำนวนหนึ่งเป็นจำนวนอตรรกยะแล้ว  แล้วจำนวนตรงข้ามกับจำนวนนั้นจะเป็นจำนวนนอตรรกยะด้วย เช่น 2√2  เป็นจำนวนอตรรกยะ  จะได้ว่าจำนวนตรงข้ามของ  2√2   คือ −2√−2  เป็นจำนวนอตรรกยะด้วยเช่นกัน ππ  เป็นจำนวนอตรรกยะ จะได้ว่าจำนวนตรงข้ามของ  ππ   คือ  −π−π  เป็นจำนวนอตรรกยะด้วยเช่นกัน 2. จำนวนอตรรกยะ มีสมบัติปิดสำหรับการบวก นั้นคือ…

เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ Metaverse

ประโยชน์ของ Metaverse

Metaverse คืออะไร เมื่อโลกอีกใบจะทำให้เราใกล้ชิดกันมากขึ้น Metaverse คือโลกอินเทอร์เน็ตที่ให้ผู้คนได้ ‘ใกล้ชิด’ โลกเสมือนจริงราวกับว่าก้าวเข้าไปในโลกนั้นทั้งใบ ไม่ใช่แค่เพียงนั่งอยู่หน้าจออีกต่อไป การสื่อสารระหว่างคน (หรืออวาตาร์) จะให้ความรู้สึกราวกับว่าเรากำลังอยู่ตรงหน้าพวกเขาเหล่านั้น ไม่ใช่เพียงแค่นั่งมองตากันผ่านวิดีโอคอล การเชื่อมต่อกับเพื่อนจะไม่ใช่แค่การดู Instgram Story หรือทักทายผ่าน DM อีกต่อไป แต่จะเป็นการพบปะพูดคุยกันแบบ Real Time ในโลกเสมือนจริง

ความสัมพันธ์ของวิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี

ความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี‎-ความสัมพันธ์ของวิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี

ความหมายของวิทยาศาสตร์ คำว่า วิทยาศาสตร์ ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า “Science” ซึ่งมาจากศัพท์ภาษาลาตินว่า “Scientia” แปลว่า ความรู้ (Knowledge) ได้มีผู้ให้ความหมายไว้หลากหลายดังนี้ ผดุงยศ ดวงมาลา (2523 : 1) กล่าวว่า ถ้าจะให้นิยามความหมายของวิทยาศาสตร์ว่า “ความรู้” ตามความหมายที่แปลมาจากภาษาลาติน ดูเหมือนว่าจะมีความหมายที่สั้นและแคบจนเกินไป เพราะธรรมชาติหรือแก่นสารที่แท้จริงของวิทยาศาสตร์นั้นไม่ได้หมายถึงความรู้เนื้อหาวิทยาศาสตร์แต่เพียงอย่างเดียว แต่หมายถึงวิธีการทางวิทยาศาสตร์และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ด้วย ซึ่งหมายความว่าในการเรียนวิทยาศาสตร์นั้นผู้เรียนจะต้องได้ทั้งตัวความรู้วิทยาศาสตร์ วิธีการ และเจตคติวิทยาศาสตร์ไปพร้อม ๆ กัน

เรื่องเวกเตอร์ 1 หน่วย

เวกเตอร์ (vector)เรื่องเวกเตอร์ 1 หน่วย ม.ปลาย

เวกเตอร์ 1 หน่วย เวกเตอร์หนึ่งหน่วยคือเวกเตอร์ที่มีขนาดหนึ่งหน่วย ถ้าให้ u เป็นเวกเตอร์หนึ่งหน่วยใดๆแล้ว u = 1 เวกเตอร์หนึ่งหน่วยมีประโยชน์ในการบอกทิศทาง สําหรับระบบพิกัดฉากเวกเตอร์หนึ่งหน่วยคือ 1 , j และ k (ตาม แกน x, y และ 2 )

เวกเตอร์ (Vector)-การบวกและลบเวกเตอร์

ปริมาณเวกเตอร์มีสิ่งหนึ่งที่คล้ายๆกับปริมาณสเกลาร์ กล่าวคือจะมีสมบัติของการ บวก ลบ คูณ แต่ จะไม่มีการหาร การบวกและลบเวกเตอร์ทําได้ 2 วิธีคือการบวกโดยใช้ แผนภาพและบวกโดยการคํานวณ