ติวเลขความน่าจะเป็น(Probability)-ความน่าจะเป็น ม.5
ติวเลขความน่าจะเป็น (Probability) ความน่าจะเป็น 1. อธิบายความหมายของการทดลองสุ่ม เหตุการณ์ และความน่าจะเป็นของเหตุการณ์จากการทดลองสุ่มที่ผลแต่ละตัวมีโอกาสที่จะเกิดขึ้นเท่า ๆ กันได้
ติวเลขความน่าจะเป็น (Probability) ความน่าจะเป็น 1. อธิบายความหมายของการทดลองสุ่ม เหตุการณ์ และความน่าจะเป็นของเหตุการณ์จากการทดลองสุ่มที่ผลแต่ละตัวมีโอกาสที่จะเกิดขึ้นเท่า ๆ กันได้
เด็ก ม.6 ต้องทำอะไรบ้างสำหรับเตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัย TCAS สอบปลายภาค แน่นอนว่าต้องสอบปลายภาคกันอยู่แล้ว บางคนอาจจะมองว่าไม่สำคัญ ไม่อยากให้ทิ้งการเรียนในห้องเรียน แล้วทุ่มให้กับข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยอย่างเดียว เพราะคะแนนสอบในห้องเรียนมีผลกับ GPAX ที่จะใช้เป็นคะแนนเข้ามหาวิทยาลัยเหมือนกัน
“จิตนิสัยทางคณิตศาสตร์” (Mathematical Habits Mind) คือ ความเข้าใจคณิตศาสตร์ในรูปแบบที่คณิตศาสตร์เป็น แล้วจะสามารถสร้างจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ให้กับผู้เรียนได้อย่างไร ?
การใช้งาน IF – Clauses ในรูปแบบต่างๆ ทั้ง4 แบบ If clause ประกอบด้วย 2 ส่วนซึ่งก็คือประโยคเงื่อนไข (Conditional sentence) และประโยคหลัก (Main clause)
กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลนิวตัน นักดาราศาสตร์และนักวิทยาศาสตร์ในสมัยโบราณสังเกตพบว่า ดวงจันทร์โคจรรอบโลกส่วนโลกและดาวเคราะห์ต่างๆ โคจรรอบดวงอาทิตย์ โดยวงโคจรของดวงจันทร์หรือดาวเคราะห์มีลักษณะเป็นวงกลมหรือวงรี แม้แคปเลอร์ (Kepler) จะพบกฎการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ได้ แต่ก็ยังไม่มีใครสามารถอธิบายเหตุผลในการโคจรลักษณะเช่นนี้ได้ จนกระทั่งนิวตันได้นำผลการสังเกตของนักดาราศาสตร์ทั้งหลายมาสรุปว่า การที่ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์ได้ เนื่องจากมีแรงกระทำระหว่างดวงอาทิตย์กับดาวเคราะห์
เราทราบว่าถา้ปล่อยวตัถุมวล m ให้ตกอย่างเสรีบริเวณผิวโลกมันจะตกด้วยความเร่งคงที่ g(g คือ 9.8เมตรต่อวินาที) โดยไม่คิดแรงตา้นทานของอากาศ เมื่อมวลที่ตกมีความเร้งจึงตอ้งเกิดแรงลพัธ์ตาม กฎขอ้สองของนิวตนั และมีค่า F=mg แรงโน้มถ่วงและสนามโน้มถ่วง แรงโน้มถ่วงและสนามโน้มถ่วง แรงโน้มถ่วงของโลกคือแรงที่โลกดึงดูดวัตถุบนโลกไม่ให้หลุดลอยไปในอวกาศ ซึ่งแรงโน้มถ่วงของโลกที่มีผลต่อวัตถุจะมากหรือน้อยจะขึ้นอยู่กับ ชนิดของมวลของวัตถุและระยะห่างวัตถุกับจุดศูนย์กลางของโลก มวลของสาร(Mass) คือปริมาณเนื้อสาร ซึ่งมีค่าคงตัว มีหน่วยเป็นกิโลกรัม น้ำหนัก (weight) คือแรงเนื่องจากแรงดึงดูดของโลกที่กระทำติ่วัตถุ มีหน่วยตามระบบเอสไอ คือ นิวตัน(N) W = mg W แทน น้ำหนัก M แทน มวล g แทน ค่าความเร่งเนื่องจากแรงดึดดูดของโลก(9.8 m/s2) “ทุกอนุภาคสสารนี้เอกภพดึงดูดทุกอนุภาคอื่นด้วยแรงซึ่งแปรผันตรงกับผลคูณของมวลของอนุภาคและแปรผกผันกับกำลังสองของระยะห่างระหว่างอนุภาคทั้งสองนั้น” วัตถุมีมวล m จะมีแรงโน้มถ่วงกระทำต่อวัตถุขนาดเท่ากัน F = mg เมื่อ g = ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก = 9.81 m/s.s ถ้า m มีหน่วยเป็นกิโลกรัม F จะมีหน่วยเป็นนิวตัน…
กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน กฎข้อ 2“เมื่อมีแรงลัพธ์ซึ่งมีขนาดไม่เป็ นศูนย์มากระท าต่อวัตถุ จะท าให้วัตถุเกิดความเร่ งในทิศเดียวกับ แรงลัพธ์ที่มากระท าและขนาดของความเร่ งนี้จะแปลผันตรงกับขนาดของแรงลัพธ์และแปลผกผันกับมวล ของวัตถุ
กฎการเคลื่อนที่ข้อหนึ่งของนิวตันหรือกฎความเฉื่อย
เรื่องแรงกับการเคลื่อนที่ แรง (force) เป็นสิ่งที่ทำให้วัตถุเปลี่ยนรูปร่าง เปลี่ยนทิศทาง เกิดการเคลื่อนที่หรือหรือหยุดนิ่งได้ แรงสามารถเปลี่ยนความเร็วของวัตถุได้ หรือกล่าวได้ว่าแรงทำให้วัตถุเกิดความเร่ง
แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ สมดุลต่อการเคลื่อนที่-ฟิสิกส์ออนไลน์ 1.การหาแรงลัพธ์2. การหาแรงลัพธ์ของ 2 แรง3. การหาแรงลัพธ์ของ 3 แรง