สรุปย่อเรื่องสับเซต และ เพาเวอร์เซต-คณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สับเซต และ เพาเวอร์เซต สับเซต สับเซต (subset) หรือ “เซตย่อย” คือ เซตที่เล็กกว่าหรือเท่ากันกับเซตที่กำหนด โดยต้องใช้สมาชิกร่วมกับเซตที่กำหนดเท่านั้น
สับเซต และ เพาเวอร์เซต สับเซต สับเซต (subset) หรือ “เซตย่อย” คือ เซตที่เล็กกว่าหรือเท่ากันกับเซตที่กำหนด โดยต้องใช้สมาชิกร่วมกับเซตที่กำหนดเท่านั้น
สรุปเนื้อหา แคลคูลัส ระดับชั้น ม.6 เป็นเนื้อหาโดยสรุปในหัวข้อ แคลคูลัส โดยจะมีเนื้อหาตั้งแต่พื้นฐานของลิมิต การหาอนุพันธ์ จนถึงการอินทิเกรต ในหัวข้อแคลคูลัสนี้เป็นพื้นฐานที่สำคัญในการประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์ระดับสูงต่อไป เพราะฉะนั้นการเข้าใจในเรื่องของแคลคูลัส
ลำดับ(Sequences) หมายถึง ตัวเลขชุดหนึ่งที่เขียนเรียงกันภายใต้กฎเกณฑ์ที่กำหนดให้ ลักษณะของลำดับมีอยู่ 2 ชนิด คือ ลำดับจำกัดและลำดับอนันต์ ชนิดของลำดับที่นิยมใช้กันอยู่ 2 ชนิดคือ
พลังงานฟิวชัน (Fusion power) คือพลังงานที่เกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น ปฏิกิริยาชนิดนี้เกิดจากการที่นิวเคลียสของอะตอมธาตุเบาหลอมตัวเข้าด้วยกัน และได้นิวเคลียสที่หนักกว่าเดิมและมีเสถียรภาพมากขึ้น มวลของธาตุเบาที่รวมกันจะหายไปเล็กน้อยซึ่งส่วนที่หายไปนั้นเองได้เปลี่ยนแปลงเป็นพลังงานตามสมการ E = mc2 กระบวนการนี้ได้ปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกมา
ความน่าจะเป็นProbability 1. การทดลองสุ่ม เป็นการทดลองที่ผลลัพธ์จะสามารถเกิดขึ้นได้แตกต่างกันหลายอย่าง แต่เราไม่ทราบว่าผลลัพธ์ใดจะเกิดขึ้นการโยนเหรียญขึ้นไปในอากาศ เป็นการทดลองสุ่มเพราะผลลัพธ์เกิดขึ้นได้หลายอย่าง แต่เรายังไม่ทราบว่าจะเกิดอะไรการทอดลูกเต๋าลงในถ้วย เป็นการทดลองสุ่มเพราะเราไม่ทราบว่าลูกเต๋าจะหงายหน้าอะไร
ทฤษฎีความน่าจะเป็นเริ่มมาจากปัญหาของการเล่นเกมการพนัน โดยมีนักพนันชาวฝรั่งเศสชื่อ เซอวาลิเยร์ เดอ เมเร (Chevalier de Mire) ซึงนิยมเล่นพนันมาก เดอ เมเร มีปัญหาอยู่อย่างนึงที่ยังแก้ไม่ตกสักที คือปัญหาในการแบ่งเงินพนันกันระหว่างนักพนัน แกเลยเข้าไปขอคำแนะนำจากนักคณิตศาสตร์ที่ปราดเปรื่องที่สุดในฝรั่งเศสยุคนั้น คือปาสคาล (Pascal) และแฟร์มาต์ (Fermat) จนเป็นที่มาของทฤษฎีความน่าจะเป็นในยุคปัจจุบัน
sim card คือ ic card หรือการ์ดสำหรับไว้ใส่ในมือถือทุกเครื่องหรือแม้กระทั่งสมาร์ทโฟนเพราะมันเป็นหมายเลขเครื่องและเป็นสิ่งสำคัญในการติดต่อสื่อสารเนื่องจากฝั่งชิพรหัสของแต่ละเครือข่ายอยู่ด้านในซิมการ์ด ทำให้เครื่องโทรศัพท์ต่างๆ มีความจำเป็นต้องใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายและเพื่อติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกันได้
ฟังก์ชันเอ็กโปเนนเชียลและลอการิทึม-คณิตศาสตร์
เลขยกกำลัง (Exponential) 1. เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็น
หลักการใช้ This/That และ These-Those