โครงสร้างของจำนวนจริง-คณิตศาสตร์

จำนวนจริง ( Real Numbers ) ประกอบด้วย จำนวนตรรกยะและจำนวนอตรรกยะ 1) จำนวนตรรกยะ (Rational Numbers) คือจำนวนที่สามารถเขียนในรูปเศษส่วนได้เมื่อเศษและส่วนเป็นจำนวนเต็มและ “ส่วนมีค่าไม่เท่ากับ 0 ”

ความรู้ Preposition ( คำบุพบ) ภาษาอังกฤษ ม.ปลาย

Preposition ( คำบุพบท) คือ คำที่ใช้แสดงสถานที่ ตำแหน่ง การเคลื่อนไหว ทิศทาง เวลา ลักษณะ และความสัมพันธ์ คำบุพบทในภาษาอังกฤษอาจเป็นคำคำเดียว เช่น at, between, from สองคำ เช่น next to, out of, across

วิชาสิ่งมีชีวิตกับระบวนการดำรงชีวิต-การรักษาดุลยภาพน้ำและแร่ธาตุของสิ่งมีชีวิต-ชีววิทยา

การรักษาดุลยภาพน้ำและแร่ธาตุของสิ่งมีชีวิต การรักษาดุลยภาพน้ำและแร่ธาตุของสิ่งมีชีวิต     โครงสร้างของสิ่งมีชีวิตทั้งพืช สัตว์ และมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์จำนวนมากมายมหาศาลมาอยู่ร่วมกันเป็นระบบเนื้อเยื่อและอวัยวะต่าง ๆ ซึ่งการทำงานของเซลล์ต่าง ๆ ก็ต้องอาศัยสภาพ

การรักษาดุลยภาพน้ำและแร่ธาตุของเซลล์ -ชีววิทยา ม.ปลาย

การรักษาดุลยภาพน้ำและแร่ธาตุของเซลล์ การรักษาดุลยภาพน้ำและแร่ธาตุของเซลล์      ในสภาวะปกติเซลล์จะสัมผัสกับสารต่าง ๆ หลายชนิดทั้งที่เป็นของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ซึ่งได้แก่ สารละลายที่มีองค์ประกอบของแร่ธาตุต่าง ๆ หรือเซลล์ที่อยู่ข้างเคียงโดยโครงสร้างที่สำคัญของเซลล์ ที่จะเป็นด่านแรกที่สัมผัสกับสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ และเป็นด่านสำคัญในการรับสารเข้าและขับสารหรือของเสียออกจากเซลล์ คือ เยื่อหุ้มเซลล์

มารู้จักกับระบบน้ำเหลืองและสำคัญต่อร่างกายอย่างไร?

ระบบน้ำเหลือง คืออะไร ระบบน้ำเหลือง (Lymphatic system) คือเครือข่ายที่เชื่อมต่อระหว่างเนื้อเยื่อ หลอดเลือด และอวัยวะในร่างกาย เพื่อไหลเวียนของของเหลวไร้สี ที่เรียกว่า น้ำเหลือง ให้กลับเข้าสู่ระบบไหลเวียนโลหิต น้ำเหลืองจะไหลเวียนไปทั่วทั้งร่างกาย คล้ายคลึงกับการไหลเวียนของเลือด

pH ของสารละลาย-เนื้อหารายวิชาเคมี ม.ปลาย

ค่า pH ของสารละลาย pH ของสารละลาย คือ ค่าที่แสดงถึงความเข้มข้นของไฮโดรเจนไอออน (H +) หรือไฮโดรเนียมไอออน (H 3O +) ใช้บอกความเป็นกรดหรือเบสของสารละลาย โดยค่า pH ของสารละลายเป็นค่าลอการิทึมของไฮโดรเจนไอออน ( หรือไฮโดรเนียมไอออน) ที่เป็นลบ

สารละลายบัฟเฟอร์ (Buffer Solution) – เคมี ม.ปลาย

สารละลายบัฟเฟอร์ (Buffer solution)             สารละลายบัฟเฟอร์  หมายถึง  สารละลายที่มีความสามารถในการควบคุมระดับ pH เอาไว้ได้  เมื่อเติมสารละลายกรดหรือเบสจำนวนที่ไม่มากเกินไป  เมื่อเปรียบเทียบกับน้ำบริสุทธิ์ที่เติมกรดหรือเบสจำนวนเท่ากัน  สารละลายที่มีสมบัติเป็นสารละลายบัฟเฟอร์จะควบคุมระดับ  pH  เอาไว้ได้ดีกว่าน้ำกลั่น  สารละลายบัฟเฟอร์เกิดจากการผสมระหว่างสารละลายกรดอ่อนกับเกลือของกรดอ่อนนั้น  หรือสารละลายเบสอ่อนกับเกลือของเบสอ่อนนั้น  แม้ว่าสารละลาย

ทฤษฎีกรด–เบส (acid base theory)เบื้องต้น-เคมี

ทฤษฎีกรด-เบส  ทฤษฎีกรด-เบสอาร์เรเนียส ทฤษฎีกรด-เบสอาร์เรเนียส ให้นิยามว่า กรด คือ สารที่ละลายน้ำแล้วแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน ส่วนเบส คือ สารที่ละลายน้ำแล้วแตกตัวให้ไฮดรอกไซด์ไอออน ซึ่งสามารถแสดงสมการทั่วไปดังนี้