ความเข้มของแสง(Light Intensity )-ฟิสิกส์

ความเข้มของแสง ความเข้มของแสง Light Intensity การวัดค่าความเข้มของแสง จะมีการใช้ค่าหลายค่าในการวัด เช่น ค่าแรงเทียน, lumen, lux

กฎของโอห์ม (Ohm’s Law)-ฟิสิกส์

 โอห์ม (George Simon Ohm) นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ได้ตั้งกฎเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า ในปี ค.ศ. 1826 ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีกว่า เป็นพื้นฐานทางไฟฟ้ากฎนี้มีใจความว่า “เมื่ออุณหภูมิของตัวนำคงที่ กระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวนำ จะเป็นปฏิภาคโดยตรงกับความต่างศักย์ไฟฟ้า ระหว่างปลายทั้งสอง ของตัวนำนั้น” จากกฎนี้ ถ้า I เป็นกระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวนำ ซึ่งมีความต่างศักย์ระหว่างปลายทั้งสองเป็น v ซึ่งจะเขียนความสัมพันธ์ได้เป็น

จำนวนเชิงซ้อน-ทฤษฎีบทเดอร์มัวร์ ( De Moivre”s Theorem)-ความรู้ทางคณิตศาสตร์

ทฤษฎีบทเดอร์มัวร์ ( De Moivre”s Theorem) ซึ่งทฤษฏีบทนี้นำไปใช้งานเมื่อเราต้องการยกกำลังจำนวนเชิงซ้อน ซึ่งต้องการยกกำลังครั้งละมากๆ เช่น ยกกำลังร้อย  ยกกำลังสิบ ก็จะนำทฤษฏีบทนี้มาช่วยในการยกกำลัง เพราะถ้าเรายกกำลังแบบวิธีธรรมดาทั่วไปคงทำไม่ได้  ฉนั้นเรามาดูว่าทฤษฏีบทนี้มีใจความสำคัญว่าอย่างไร 

เนื้อเยื่อพืช(Plant tissue)-ชีววิทยา

เนื้อเยื่อพืช(Plant tissue)  พืช (plant) คือสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ที่ประกอบขึ้นมาจากเซลล์ยูคาริโอต มีผนังเซลล์เป็นสารประกอบพวกเซลลูโลส มีคลอโรฟิลล์ที่เป็นสารสีเขียว สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้มีช่วงชีวิตที่เป็นระยะเอ็มบริโอ ตลอดจนมี   วงชีวิตแบบสลับ (Alternation )

หลักการใช้ Past Simple Tense -ภาษาอังกฤษ ม.ปลาย

ใช้กับเหตุการณ์หรือการกระทำที่ได้เกิดขึ้นแล้วในอดีต และจบลงแล้วในอดีตก่อนที่จะพูดประโยคนี้ มักจะมีคำ (word) กลุ่มคำ (Phrase) หรือประโยค (Clause) ที่แสดงความเป็นอดีตกำกับไว้เสมอ

การใช้ประโยคอธิบายเหตุการณ์ในอดีต (Past simple tense)

เนื้อหาเรื่อง การใช้ประโยคอธิบายเหตุการณ์ในอดีต (Past simple tense) Past Simple Tense คือประโยคที่ใช้อธิบายเรื่องราวที่เกิดขึ้นแล้ว และจบลงแล้ว   ขอให้สังเกตความแตกต่างระหว่างประโยคที่ที่ใช้อธิบายเรื่องราวที่เกิดขึ้นในปัจจุบันกับประโยคที่ใช้อธิบายเรื่องราวที่เกิดขึ้นและจบลงแล้ว ในอดีต

รู้ทันโรคปอดอักเสบ

สาเหตุของการเกิดโรคปอดอักเสบนี้ พบว่ามีความแตกต่างกันในตามสภาพแวดล้อมและแต่ละช่วงวัย โดยร่างกายจะได้รับเชื้อผ่านทางระบบทางเดินหายใจ ด้วยวิธีการ ไอ หรือ จาม ทำให้เชื้อที่ลอยอยู่ในอากาศ ที่มีลักษณะละอองฝอยขนาดเล็กเข้าสู่ปอดโดยตรงได้ ในกลุ่มผู้สูงอายุ พบว่าการติดเชื้อมักเกิดจากการสำลักน้ำลาย น้ำดื่ม หรืออาหาร ส่งผลให้เชื้อที่สะสมอยู่บริเวณทางเดินหายใจส่วนบน เข้าสู่บริเวณปอด จนเกิดโรคปอดอักเสบในที่สุด

แก้วทํามาจากอะไร และ วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตแก้ว-เคมี

วัตถุดิบหลัก (Major Ingredient) จะประกอบด้วย ทรายแก้ว โซดาแอช หินปูน หินฟันม้า และเศษแก้ว     1.ทรายแก้ว (Glass Sand)  ทรายแก้ว มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Silica Sand [silica (silicon dioxide, or SiO2)] คือ ทรายชนิดหนึ่งที่มีซิลิกา เป็นส่วนประกอบกว่า 99.5% ทรายแก้วเมื่อหลอมจะกลายสภาพเป็นโครงสร้างหลักของเนื้อแก้ว แหล่งทรายแก้วปัจจุบันจะอยู่ที่จังหวัดระยองและชุมพร ทรายแก้วที่นำมาใช้จะแบ่งชนิดการใช้งานเป็น ทรายแก้วขาว ซึ่งมีส่วนผสมของเหล็กอ็อกไซด์ (Fe2O3) ในปริมาณที่น้อย เหมาะจะใช้กับการผลิตแก้วใส ส่วนทรายดำหรือสีชา จะมีเหล็กอ็อกไซด์สูงมากกว่า จึงเหมาะที่จะนำไปผลิตแก้วสีเช่น สีชาหรือสีเขียว เป็นต้น

พอลิเมอร์ธรรมชาติ ( Natural polymers)

พอลิเมอร์ธรรมชาติ เป็นพอลิเมอร์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ  สามารถพบได้ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด  โดยพอลิเมอร์ธรรมชาติเหล่านี้เป็น

แรงกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ-ฟิสิกส์

ทฤษฎีของ แรงและการเคลื่อนที่ แรง (Force) คืออำนาจภายนอกที่สามารถกระทำให้วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลง ทั้งทางลักษณะรูปร่าง ตำแหน่งทิศทาง และการเคลื่อนที่ เป็นปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ระหว่างวัตถุต่อวัตถุด้วยกันเอง หรือระหว่างวัตถุต่อสิ่งภายนอก ในทางวิทยาศาสตร์ แรงจึงถูกกำหนดให้เป็นปริมาณเวกเตอร์ (Vector) ที่มีทั้งขนาด (Magnitude) และทิศทาง (Direction) แรงประกอบไปด้วยแรงย่อยและแรงลัพธ์ ถ้ามีแรงมากกว่าหนึ่งแรงกระทำต่อวัตถุ แรงลัพธ์คือผลรวมของแรงย่อยทั้งหมดที่มากระทำต่อวัตถุดังกล่าว โดยมีหน่วยเป็นนิวตัน (Newton)