พอลิเมอร์ (Polymer)-เคมี ม.ปลาย

พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วย หน่วยเล็ก ๆ ของสารที่อาจจะเหมือนกันหรือต่างกันมาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์ มอนอเมอร์ (Monomer) คือ หน่วยเล็ก ๆ ของสารในพอลิเมอร์

ความหมายเรื่องความสัมพันธ์และฟังก์ชัน(Relations and Functions)

ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ฟังก์ชัน คือ ความสัมพันธ์ จาก เซต หนึ่ง (โดเมน) ไปยังอีกเซตหนึ่ง (โคโดเมน ไม่ใช่ เรนจ์) โดยที่สมาชิกตัวหน้าไม่ซ้ำกัน ความคิดรวบยอดของฟังก์ชันนี้เป็นพื้นฐานของทุกสาขาของคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เชิงปริมาณ

สรุปเรื่องสมดุลต่อการเคลื่อนที่ -ฟิสิกส์ ม.ปลาย

สมดุลต่อการเคลื่อนที่ การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งแกร่งอาจแบ่งได้เป็น 2 แบบคือ 1. การเคลื่อนที่แบบเลื่อนที่ คือทุกส่วนเลื่อนไปในทางเดียวกัน เช่น การผลักไม้บรรทัดแล้วไม้บรรทัดเลื่อนไปข้างหน้าทิศเดียวกัน

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี(Reaction rate)

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1 ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีหมายถึง ความเร็วที่ตัวทำปฏิกิริยาเปลี่ยนไปเป็นสารผลิตภัณฑ์ต่อหน่วยเวลา โดยที่หน่วยความเข้มข้นของสารเป็นmol/dm3ดังนั้นอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจึงมีการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารต่อวินาทีชั่วโมง หรือวัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปฏิกิริยาเกิดเร็วหรือช้าเพียงใด

ปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้า หรือปฏิกิริยารีดอกซ์

   ปฏิกิริยารีดอกซ์ คือ ปฏิกิริยาเคมี ที่มีการแลกเปลี่ยนอิเล็กตรอนระหว่างสารตั้งต้นทำให้เลขออกซิเดชันมีการเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งจะทำให้มีอะตอมของธาตุบางตัวสูญเสียหรือได้รับอิเล็กตรอน จะเรียกปฏิกิริยาที่เกิดการเสียอิเล็กตรอนว่า ปฏิกิริยาออกซิเดชัน (Oxidation) และเรียกปฏิกิริยาที่มีการรับอิเล็กตรอนว่า ปฏิกิริยารีดักชัน (Reduction) ดังตัวอย่าง

Tense รูปแบบ(หรือโครงสร้าง)ของกริยา- พื้นฐานภาษาอังกฤษ

Tense คือรูปแบบ(หรือโครงสร้าง)ของกริยา ที่แสดงให้เราทราบว่าการกระทำหรือเหตุการณ์นั้นๆเกิดขึ้นเมื่อใด ซึ่งเรื่อง tense นี้เป็นเรื่องสำคัญ ถ้าเราใช้ tense ไม่ถูก เราก็

หลุยส์ ปาสเตอร์ ผู้พิชิตจุลินทรีย์ต้นแบบนักจุลชีววิทยาและนักเคมีผู้วางรากฐานการแพทย์สมัยใหม่

หลุยส์ ปาสเตอร์ (Louis Pasteur) นักจุลชีววิทยาและนักเคมีผู้วางรากฐานการแพทย์สมัยใหม่ เป็นผู้ค้นพบว่าการเน่าเสียของอาหารเกิดจากจุลินทรีย์ และค้นพบวิธีการฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ได้ด้วยการพาสเจอร์ไรส์ (Pasteurization) ซึ่งช่วยให้

อยากเรียนด้านไวรัสวิทยาหรือนักจุลชีววิทยา ต้องเข้าคณะอะไรดี

นักจุลชีววิทยา คือนักวิทยาศาสตร์ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญทางด้านจุลชีววิทยา หรือการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก ทั้งที่มองเห็นและมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า จุลินทรีย์ต่าง ๆ โดยศึกษาทั้งธรรมชาติ การเจริญเติบโต คุณสมบัติและลักษณะของสารทางพันธุกรรม  การนำไปใช้ประโยชน์ต่อยอดได้หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นทางด้านการแพทย์ อุตสาหกรรม สิ่งแวดล้อม ฯลฯ