ตรรกศาสตร์ ม.4 เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์ ม.4 ประพจน์ ประพจน์ (Statement) คือ ประโยคหรือข้อความที่เป็น “จริง” หรือ “เท็จ” อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น เรียก จริง (True: T) หรือ เท็จ (False: F) ว่า ค่าความจริง (Truth value) ของประพจน์
ตรรกศาสตร์ ม.4 ประพจน์ ประพจน์ (Statement) คือ ประโยคหรือข้อความที่เป็น “จริง” หรือ “เท็จ” อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น เรียก จริง (True: T) หรือ เท็จ (False: F) ว่า ค่าความจริง (Truth value) ของประพจน์
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4) คณิตศาสตร์ ม.4 ตามหลักสูตรของ สสวท. (หลักสูตรใหม่ ฉบับปรับปรุงปี 2560) คณิตศาสตร์ ม.4 หลักสูตรใหม่ เทอม 1 เทอม 2 เราต้องเรียนอะไรบ้าง เพื่อจะได้วางแผนการเรียนของตัวเองได้ดียิ่งขึ้น
พื้นที่ผิวและปริมาตร พื้นที่ผิวและปริมาตร พื้นที่ผิวและปริมาตรของพีระมิด ทรงสามมิติที่มีฐานเป็นรูปเหลี่ยมใดๆ มียอดแหลมซึ่งไม่อยู่บนระนาบเดียวกับฐานและหน้าทุกหน้าเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดร่วมกัน เรียกว่า พีระมิด การเรียกชื่อพีระมิด นิยมเรียกชื่อตามลักษณะรูปเหลี่ยมของฐาน ตัวอย่างเช่น พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้า พีระมิดฐานหกเหลี่ยม เป็นต้น
สมบัติของพีระมิด – พื้นที่ผิวและปริมาตร พีระมิด ในทางคณิตศาสตร์ ให้ความหมายคำว่า พีระมิด ดังนี้ รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นรูปเหลี่ยมใดๆ มียอดแหลมที่ไม่อยู่บนระนาบเดียวกันกับฐาน และหน้าทุกหน้าเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดร่วมกันที่ยอดแหลมนั้น เรียกว่า พีระมิด
ฟิสิกส์ แรงและกฎการเคลื่อนที่ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแรง 1 แรงชนิดต่าง ๆ 2 การแตกแรง 3 การรวมแรง 4 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา แรงและกฎการเคลื่อนที่ มีหน่วยย่อย ดังนี้ แรงและการแตกแรง กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน แรงดึงดูดระหว่างมวล แรงในแนวตั้งฉาก แรงตึงเชือก แรงเสียดทาน แรงมี 2 ประเภท 1. แรงที่ต้องสัมผัส คือ แรงที่ต้องสัมผัสวัตถุก่อนถึงจะเกิดแรงได้ เช่น การผลักของ การดึงของ การเตะ การต่อย เป็นต้น 2. แรงที่ไม่ต้องสัมผัส คือ แรงที่ไม่ต้องสัมผัสวัตถุก็เกิดแรงได้ เช่น แรงโน้มถ่วง แรงเเม่เหล็ก เเรงทางไฟฟ้า เป็นต้น การเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวตรง พบว่า วัตถุอาจมีการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว หรือมีการเปลี่ยนแปลงความเร็ว ซึ่งอะไรคือสาเหตุที่ทำให้วัตถุมีการเคลื่อนที่เป็นแบบดังกล่าว โดยปริมาณที่เกี่ยวข้องกับลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวตรง ได้แก่ ระยะทาง, การกระจัด, อัตราเร็ว, ความเร็ว, ความเร่ง…
สมดุลต่อการเคลื่อนที่ (translational equilibrium) สมดุลต่อการเคลื่อนที่ สมดุลต่อการเคลื่อนที่ การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งแกร่งอาจแบ่งได้เป็น 2 แบบคือ 1. การเคลื่อนที่แบบเลื่อนที่ คือทุกส่วนเลื่อนไปในทางเดียวกัน เช่น การผลักไม้บรรทัดแล้วไม้บรรทัดเลื่อนไปข้างหน้าทิศเดียวกัน 2. การเคลื่อนที่แบบหมุน คือมีส่วนเป็นแกนหมุนและส่วนอื่นๆเคลื่อนที่หมุนรอบแกน เช่น การเคลื่อนที่ของพัดลม แต่วัตถุบ้างที่ก็เคลื่อนที่แบบหมุนและเลื่อนที่ไปพร้อมๆกัน
Preposition หรือ คำบุพบท เช่น in, on, at การใช้ on ใช้กับวันในสัปดาห์ ใช้กับวันที่ ใช้กับวันสำคัญต่างๆ 1)“On” ในความหมายแปลว่า บน, ข้างบน เพื่อแสดงตำแหน่ง (Position) เช่น
หลักการเติม s และ es ที่ท้ายคำ นามนับไม่ได้ (uncountable noun) คือ คำนามที่เราไม่รู้จะนับยังไงเพราะเรามองไม่เห็นความชัดเจนจากมันเช่น water – เพราะมันเป็นของเหลว เรานับไม่ได้แน่นอน เราจะนับได้ก็ต่อเมื่อมันอยู่ในกล่องบรรจุภัณฑ์เช่น A bottle of water – นำ 1 ขวด นอกจากนั้นนามนับได้จะมีพวกนามธรรมที่เรามองไม่เห็นเช่น honesty (ความซื่อสัตย์) ที่เราไม่รู้ว่ามันหน้าตาเป็นยังไง
ความสัมพันธ์ คู่อันดับ (Ordered Pairs) บทนิยาม คู่อันดับ (a,b) เท่ากับ คู่อันดับ (c,d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d
ฟังก์ชันผกผัน (inverse function) ตัวผกผันของความสัมพันธ์ คือการสลับตำแหน่งสมาชิกตัวหน้าและตัวหลังของความสัมพันธ์ ตัวผกผันของฟังก์ชัน ไม่จำเป็นต้องเป็นฟังก์ชันเสมอไป