เวกเตอร์และสเกลาร์-ฟิสิกส์

เวกเตอร์และสเกลาร์ ปริมาณเวกเตอร์ (Vector  quantity)  คือ ปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง  จึงจะได้ ความหมายที่ชัดเจน เช่น  แรง  ความเร็ว  น้ำหนัก  ความเร่ง  โมเมนต์  การขจัด สนามแม่เหล็ก ความดัน

การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม

คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.3 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม

การแยกตัวประกอบพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสอง พหุนาม คือ อะไร พหุนาม คือ เอกนามหรือจำนวนที่เขียนอยู่ในรูปการบวก ของเอกนาม ตั้งแต่สองเอกนามขึ้นไป เอกนามในพหุนาม เรียกว่า พจน์ เช่น 3×3 -x2 + 6   หรือ  3×3 +( -x2 )  + 6 เป็นพหุนาม   พจน์ที่ 1  คือ 3×3 พจน์ที่ 2  คือ    -x2 พจน์ที่ 3 คือ    6 พหุนาม คือ นิพจน์ที่อยู่ในรูปเอกนาม หรือเขียนอยู่ในรูปการบวกกันของเอกนามตั้งแต่สองเอกนามขึ้นไปได้ เช่น x³ + 8 x² – 2x – 1 ดีกรีของพหุนาม คือ ดีกรีสูงสุดของพจน์ของพหุนามในรูปผลสำเร็จ เช่น x…

สมบัติของเซตและสับเซตที่น่าสนใจ

สมบัติของเซตและสับเซตที่น่าสนใจ

สมบัติของเซตที่น่าสนใจ นิยามของเซต เซต คือ คำที่ใช้บ่งบอกกลุ่มของสิ่งต่าง ๆ ทำให้ทราบว่าเมื่อพูดถึงกลุ่มใดแล้วก็จะทราบได้อย่างแน่นอนว่าสิ่งใดอยู่ในกลุ่ม และสิ่งใดไม่อยู่ในกลุ่ม โดยจะเรียกสิ่งที่อยู่ในเซตว่า สมาชิกของเซต เช่น เซตของอักษรสระในภาษาอังกฤษ หมายถึง กลุ่มของอักษร a, e, i, o, และ u จำนวนสมาชิกเซต A เขียนแทนด้วย n(A) a เป็นสมาชิกของเซต A เขียนแทนด้วย a ∈ A b ไม่เป็นสมาชิกของเซต A เขียนแทนด้วย b ∉ A **สมบัติของสับเซตที่น่าสนใจ A ⊂ A (เซตทุกเซตเป็นสับเซตของตัวมันเอง) A ⊂ U (เซตทุกเซตเป็นสับเซตของเอกภพสัมพัทธ์) ø ⊂ A (เซตว่างเป็นสับเซตของทุกๆ เซต) ถ้า A ⊂ ø แล้ว A =…

การดำเนินการของเซต (Operation of set)

การดำเนินการของเซต (Operation of set)- คณิตศาสตร์ ม.4

การดำเนินการของเซต (Operation of set) เอกภพสัมพัทธ์ (Relative Universe) คือ เซตที่ใช้กำหนดขอบเขตของสิ่งต่าง ๆ ที่จะกล่าวถึง โดยมีข้อตกลงว่าจะไม่กล่าวถึงสิ่งอื่นใดซึ่งนอกเหนือจากสิ่งที่เซตนี้กำหนดไว้ เขีนแทนด้วย U ถ้ากล่าวถึงเซตของจำนวนโดยไม่กำหนดเอกภพสัมพัทธ์ ให้ถือว่าเอกภพสัมพัทธ์คือเซตของจำนวนจริง

การผันกริยา 3 ช่อง

การผันกริยา 3 ช่อง-ภาษาอังกฤษ

การผันกริยา 3 ช่อง คำกริยาให้เป็น Past Tense ทำได้ 2 วิธี คือ การเติม –ed ที่ท้ายคำกริยาช่องที่ 1 สำหรับคำกริยาปกติ (regular verb) และเปลี่ยนรูปคำกริยาจากช่องที่ 1 เป็นช่องที่ 2 สำหรับคำกริยาอปกติ (irregular verb) สำหรับคำกริยาอปกติซึ่งจะต้องผันไปตามหลักกริยา 3 ช่อง มีดังต่อไปนี้

รูปแบบการย่อคำในภาษาพูดและภาษาอังกฤษในประโยคคำถาม

รูปแบบการย่อคำในภาษาพูดและภาษาอังกฤษในประโยคคำถาม

รูปแบบการย่อคำในภาษาพูดและภาษาอังกฤษในประโยคคำถาม ภาษาอังกฤษ (Contraction) อย่างที่บอกไปแล้วว่าตัวย่อ เขามีไว้ใช้ในการสนทนาในชีวิตประจำวันเสียส่วนใหญ่ ส่วนการพูดและสนทนาที่เป็นทางการ เขาจะยังคงใช้คำเต็มๆอยู่ และในภาษาเขียนก็เช่นกัน จะไม่ใช้ตัวย่อ เพราะมันดูไม่เป็นทางการนั่นเอง ตัวย่อในที่นี้มักจะเป็นการย่อระหว่าง