รูปของ simple past : regular verbs
รูปของ simple past : regular verbs โครงสร้างประโยคของ Past Simple
รูปของ simple past : regular verbs โครงสร้างประโยคของ Past Simple
ทฤษฎีบทเศษเหลือ ทฤษฎีเศษเหลือกล่าวไว้ว่า พหุนาม P(x) หารด้วย x-c จะได้เศษ = P(c)
คณิตศาสตร์พื้นฐาน เรื่องแผนภาพกล่องหรือ Box-plot แผนภาพกล่องหรือ Box-plot เป็นแผนภาพที่แสดงการกระจายของข้อมูล แผนภาพกล่องนั้นเป็นการประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับ Quartile (ควอร์ไทล์)แล้วเอามาสร้างเป็นกล่อง มาดูไปพร้อมกันเลยว่าเป็นอย่างไร มาดูข้อสอบ o-net ที่เกี่ยวกับแผนภาพกล่องกันครับ 1. คะแนนสอบความรู้ทั่วไปของนักเรียน 200 คนนำเสนอโดยใช้แผนภาพกล่องดังนี้ ข้อใดเป็นเท็จ (o-net 53/32) 1) จำนวนนักเรียนที่ทำได้ 12 ถึง 16 คะแนน มีเท่ากับ จำนวนนักเรียนที่ทำได้ 16 ถึง 18 คะแนน 2) จำนวนนักเรียนที่ทำได้ 12 ถึง 18 คะแนน มีเท่ากับ จำนวนนักเรียนที่ทำได้ 18 ถึง 24 คะแนน 3) จำนวนนักเรียนที่ทำได้ 10 ถึง 12 คะแนน มีเท่ากับ จำนวนนักเรียนที่ทำได้ 18 ถึง 24 คะแนน 4) จำนวนนักเรียนที่ทำได้…
สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวก จำนวนตรรกยะ (rational number) เป็นจำนวนจริงที่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มที่ตัวส่วนไม่เป็นศูนย์ และเขียนในรูปทศนิยมซ้ำได้จำนวนอตรรกยะ (irrational number) เป็นจำนวนจริงที่ไม่ใช่จำนวนตรรกยะซึ่งไม่สามารถเขียนในรูปทศนิยมซ้ำหรือเศษส่วนของจำนวนเต็มที่ตัวส่วนไม่เป็นศูนย์แต่เขียนได้ในรูปทศนิยมไม่ซ้ำ และสามารถกำหนดค่าโดยประมาณได้การเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยม คือ การนำส่วนไปหารเศษการเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน คือ ทศนิยม 1 ตำแหน่ง หารด้วย 10 2
ระบบจำนวนจริง (Real number) จํานวนจริงสามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ จํานวนตรรกยะ และจํานวนอตรรกยะ 1.จำนวนตรรกยะ (Rational Number) หมายถึง จำนวนที่สามารถเขียนได้ในรูป เศษส่วน ของจำนวนเต็ม (ตัวส่วนไม่เท่ากับ 0 ) หรือเป็นทศนิยมซ้ำ เช่น 12,−35,227,−6,0.3,0.43˙8˙,7.643,3621,5−3,722,−6,0.3,0.43˙8˙,7.643,36
จำนวนจริง (Real Numbers) จำนวนจริงคือจำนวนที่ประกอบขึ้นมาจาก จำนวนตรรกยะ และ จำนวนอตรรกยะ นั่นคือ ถ้าเรามองไปที่เส้นจำนวน ทุกๆจุดบนเส้นจำนวนคือจำนวนจริงทั้งหมด แล้ว ∞ และ -∞ เป็นจำนวนจริงหรือไม่ คำตอบคือไม่เป็นครับ เนื่อง ∞ มีใช่จำนวน แต่เป็นสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ที่บอกถึงจำนวนที่ไม่มีขอบเขตหรือไม่มีที่สิ้นสุด
สรุปเรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ผลคูณคาร์ทีเชียน เป็นการกระทำกันระหว่างเซต 2 เซต โดยผลคูณคาร์ทีเชียนระหว่างเซต A และ B เขียนแทนด้วย A×B คือ เซตของคู่อันดับ (a,b) ทั้งหมด โดยที่ a เป็นสมาชิกของเซต A และ b เป็นสมาชิกของเซต B เขียนอยู่ในรูปแบบดังนี้ A×B = {(a,b) | a ∈ A และ b ∈ B}
คำบุพบทบอกเวลา (prepositions of time )
กฎของนิวตัน (Newton’s laws) เซอร์ ไอแซค นิวตัน (Sir Isaac Newton) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ถือกำเนิดใน ปี ค.ศ.1642 นิวตันสนใจดาราศาสตร์ และประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสง (Reflecting telescope) ขึ้นโดยใช้โลหะเงาเว้าในการรวมแสง แทนการใช้เลนส์ เช่นในกล้องโทรทรรศน์ชนิด หักเหแสง (Refracting telescope) นิวตันติดใจในปริศนาที่ว่า แรงอะไรทำให้ผลแอปเปิลตกสู่ พื้นดินและตรึงดวงจันทร์ไว้กับโลก และสิ่งนี้เองที่นำเขาไปสู่การค้นพบกฎที่สำคัญ 3 ข้อ
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ สมดุลต่อการเคลื่อนที่ 1.การหาแรงลัพธ์ 2. การหาแรงลัพธ์ของ 2 แรง