Present Continuous

สรุปวิธีการใช้ ❝ Present Continuous ❞ 

สรุปวิธีการใช้ ❝ Present Continuous ❞ Tense ในภาษาอังกฤษ แบ่งออกเป็น อดีต (Past) ปัจจุบัน (Present) อนาคต (Future) เพื่อใช้เล่าถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาต่าง ๆ ซึ่ง Tense ที่ Globish จะมาสรุปในวันนี้อยู่ใน Present Tense นั่นก็คือ Present Continuous

ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์

ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์

ความน่าจะเป็น นิยามต่างๆ ในหัวข้อ  ความน่าจะเป็น (Probability) การทดลองสุ่ม (Random experiment)  คือ การทดลองหรือการกระทำที่ไม่สามารถระบุอย่างแน่นอนว่าผลลัพธ์ในการทดลองเป็นอย่างไร

การทดลองสุ่มและแซมเปิลสเปซ

การทดลองสุ่มและแซมเปิลสเปซ

การทดลองสุ่มและแซมเปิลสเปซ การทดลองสุ่ม คือ การทดลองซึ่งทราบว่าผลลัพธ์อาจจะเป็นอะไรได้บ้าง แต่ไม่สามารถบอกได้อย่างถูกต้องแน่นอนว่าในแต่ละครั้งที่ทดลองผลที่เกิดขึ้นจะเป็นอะไรในบรรดาผลลัพธ์ที่อาจเป็นได้เหล่านั้น

เนื้อหาคณิตศาสตร์ ม. 3 เทอม 1

เนื้อหาคณิตศาสตร์ ม. 3 เทอม 1 คณิตศาสตร์ ม.3 หลักสูตรใหม่ ตามหลักสูตรของ สสวท. ครับ เนื้อหาแบ่งเป็น คณิตศาสตร์พื้นฐาน จำนวน 2 เล่ม ไม่มีคณิตศาสตร์เพิ่มเติม แต่บางโรงเรียนก็อาจจะเสริมบางเรื่องนอกเหนือจากที่หลักสูตรกำหนดไว้

ระบบสมการสองตัวแปร

ระบบสมการสองตัวแปร คือ สมการที่มีตัวแปรสองตัว เลขชี้กำลังของตัวแปรแต่ละตัวเป็นหนึ่งและไม่มีการคูณกันของตัวแปร     โดย คำตอบของสมการเชิงเส้นสองตัวแปรที่มี x และ y เป็นตัวแปร คือ ค่า x และ y ที่ทำให้สมการเป็นจริง   โดย จากสมการ y = mx + b

วิธีการหาคำตอบจากสมการเชิงเส้นสองตัวแปร

วิธีการหาคำตอบจากสมการเชิงเส้นสองตัวแปร

วิธีการหาคำตอบจากสมการเชิงเส้นสองตัวแปร อย่างที่กล่าได้กล่าวมาแล้วเกี่ยวกับพื้นของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ถ้ายังไม่ได้ศึกษาเรื่องพื้นฐานควรจะกลับไปศึกษาก่อนเพื่อความเข้าใจในการทำโจทย์ในวิธีการ

พื้นที่ผิวและปริมาตร‎ -ปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอก

พื้นที่ผิวและปริมาตร‎ -ปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอก

พื้นที่ผิวและปริมาตร‎ -ปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอก พื้นที่ผิวและปริมาตรของพีระมิด            พีระมิด คือ ทรงสามมิติที่มีฐานเป็นรูปเหลี่ยมใดๆ มียอดแหลม ซึ่งไม่อยู่ในระนาบเดียวกับฐาน และหน้าทุกหน้าเป็นรูปสามเหลี่ยม ที่มีจุดยอดร่วมกันที่ยอดแหลม

ฟังก์ชันกำลังสอง(Quadratic function)

ฟังก์ชันกำลังสอง(Quadratic function)

ฟังก์ชันกำลังสอง  (Quadratic function)             ฟังก์ชันกำลังสองเป็นฟังก์ชันที่อยู่ในรูป    y   =   ax2 + bx + c   เมื่อ  a, b, c  เป็นจำนวนจริงใด ๆ  และ  a ¹ 0   ซึ่งกราฟของฟังก์ชันกำลังสอง  เรียกว่า  พาราโบลา

กราฟเส้นตรง

กราฟเส้นตรง 1. สมการของกราฟเส้นตรงที่ขนานกับแกน x กำหนดให้ L เป็นเส้นตรงที่ขนานกับแกน x ดังนั้น เส้นตรง L ย่อมตั้งฉากกับแกน y และกำหนดให้เส้นตรง L ตัดแกน y ที่จุด (0, b) ถ้า b > 0 เส้นตรง L จะอยู่เหนือแกน x และห่างจากแกน x เป็นระยะ |b| หน่วย ถ้า b = 0 เส้นตรง L จะทับแกน x ถ้า b < 0 เส้นตรง L จะอยู่ใต้แกน x และห่างจากแกน x เป็นระยะ |b| หน่วย