การนำมาประยุกต์ใช้ของ Bigdata และ AI ในอุตสาหกรรม หลังจากที่เราเข้าใจหลักการคร่าวๆ ของ Bigdata และ AI ว่ามันคืออะไรแล้ว ? เราลองไปดูกันครับว่าในปัจจุบันมีการนำระบบเหล่านี้มาประยุกต์ใช้อะไรแล้วบ้าง ? (ซึ่งจริงๆก็วงการนี้ไปกันไกลมากๆเลยครับ) ยกตัวอย่างจากในชีวิตประจำวัน เช่น โปรแกรมแต่งภาพ เปลี่ยนภาพคนเป็นการ์ตูนที่คล้ายกันมากๆ ที่เราเจอใน TikTok , หรือ Recommend Model ที่คอยเลือกเพลง หรือ หนัง ที่คิดว่าเราจะชอบได้อย่างตรงใจใน Spotifiy หรือ Netflix, ส่วนในวงการอุตสาหกรรม ยกตัวอย่างเช่น การสร้าง Predictive Model ที่สามารถทำนายความเสียหายของเครื่องจักรในอนาคตได้อย่างแม่นยำ (กว่าการใช้ Standard และ ISO-10XXX ต่างๆ) , การทำนายราคาสินค้าและบอกจุดคุ้มทุนที่ดีที่สุด ต้นทุน-ราคาขาย , สินค้าคงคลัง , กำลังการผลิต

มารู้จักกับ ปัญญาประดิษฐ์ AI (Artificial Intelligence) 

ปัญญาประดิษฐ์  (AI : Artificial Intelligence)  คือ เครื่องจักร(machine) ที่มีฟังก์ชันทีมีความสามารถในการทำความเข้าใจ เรียนรู้องค์ความรู้ต่างๆ อาทิเช่น การรับรู้  การเรียนรู้ การให้เหตุผล และการแก้ปัญหาต่างๆ  เครื่องจักรที่มีความสามารถเหล่านี้ก็ถือว่าเป็น ปัญญาประดิษฐ์  (AI : Artificial Intelligence) นั่นเอง

ความน่าจะเป็น (Probability) ม.5

ความน่าจะเป็น (Probability) ม.5

ความน่าจะเป็น ม.5 (Probability) ความหมายของความน่าจะเป็น ในชีวิตประจำวันของทุกคนต้องได้ยินคำว่า ความน่าจะเป็น หรือ โอกาส เช่น โอกาสที่วันนี้แดดจะออกมีมาก ความน่าจะเป็นที่โยนเหรียญแล้วจะได้หัว มีเท่ากับได้ก้อย การทดลองสุ่ม (Random Experiment)

อดัม สมิธ (Adam Smith) นักปรัชญาศีลธรรม และ นักเศรษฐศาสตร์การเมือง

อดัม สมิธ (Adam Smith) นักปรัชญาศีลธรรม และ นักเศรษฐศาสตร์การเมือง

อดัม สมิธ ( Adam Smith) นักปรัชญาศีลธรรม และ นักเศรษฐศาสตร์การเมืองผู้บุกเบิกชาวสกอตแลนด์ รู้จัก Adam Smith ผ่านชีวิตและผลงาน The Theory of Moral Sentiments และ The Wealth of Nations สภาพเศรษฐกิจสังคม ตั้งแต่ประมาณช่วงกลางศตวรรษที่ 17 ผลของการพัฒนาของวิทยาการต่างๆ การยอมรับแนวคิดมนุษย์นิยม ปัจเจกชนนิยม การปฏิรูปทางศาสนา ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในประเทศต่างๆ ได้ทำให้ประชาชน พ่อค้า นักอุตสาหกรรม เริ่มมีสิทธิ์มีเสียง และมีความพยายามประท้วงต่อต้านการแทรกแซงและผูกขาดของภาครัฐที่เป็นอุปสรรคต่อการค้าเสรี อาทิ การตั้งกฏเกณฑ์ข้อบังคับ การผูกขาดให้อภิสิทธิ์กับชนชั้นสูง เป็นต้น รวมทั้งเรียกร้องเสรีภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของแนวคิดเสรีนิยมซึ่งเป็นพื้นฐานของแนวคิดคลาสสิค

เนื้อหาที่สอน เลข ม.4 เทอม 1 เรื่องเซต

เนื้อหาที่สอน เลข ม.4 เทอม 1 เรื่องเซต  เซต (1) เซต (2) เอกภพสัมพัทธ์ (3) สับเซตและเพาเวอร์เซต (4) ยูเนียน อินเตอร์เซกชันและคอมพลีเมนต์ของเซต

สรุปสูตร สถิติ ทั้งหมด

สรุปสูตร สถิติ ทั้งหมด

สรุปสูตร สถิติ ทั้งหมด 1) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 2) มัธยฐาน 3) ฐานนิยม 4) ควอไทล์ เดไซล์ เปอร์เซนไทล์ 5) การวัดการกระจาย 6) ความแปรปรวน และความแปรปรวนรวม 7) ค่ามาตรฐาน พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติ 9) ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตข้อมูลที่แจกแจงความถี่ วิธีการ หาค่าเฉลี่ย มัธยฐาน และฐานนิยม การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ค่ากลาง คือ ค่าที่ใช้เป็นตัวแทนของข้อมูลชุดหนึ่ง ค่ากลางที่นิยมใช้มี 3 วิธีได้แก่ 1) ฐานนิยม (Mode) ฐานนิยม (Mode : Mo) หมายถึง ค่าของข้อมูลในชุดใดชุดหนึ่ง ซึ่งมีความถี่สูงที่สุดหรือซ้ำกันมากที่สุด การหาฐานนิยมแบ่งเป็น 2 กรณี     1.1) กรณีที่ข้อมูลไม่จัดเป็นกลุ่ม Ex.     1.2) กรณีที่ข้อมูลจัดเป็นกลุ่ม          …

สรุป ความน่าจะเป็น ม.4-6

สรุป ความน่าจะเป็น ม.4-6

สรุป ความน่าจะเป็น ม.4-6 ในชีวิตประจำวัน เรามักจะได้ยินคำว่า “โอกาส” เช่น โอกาสที่ฝนจะตกเท่ากับ90% หมายถึง เหตุการณ์ที่ฝนจะตกมากกว่าเหตุการณ์ที่ฝนไม่ตก แต่ถ้าเราโยนเหรียญเที่ยงตรง 1 เหรียญ โอกาสที่เหรียญจะออกหัวหรือก้อยเป็นจำนวนเท่า ๆ กัน คือ 50%

ความน่าจะเป็นในชีวิตประจำวัน

ความน่าจะเป็นในชีวิตประจำวัน ความน่าจะเป็น (Probability) ทฤษฎีความน่าจะเป็นเริ่มมาจากปัญหาของการเล่นเกมการพนัน โดยมีนักพนันชาวฝรั่งเศสชื่อ เซอวาลิเยร์ เดอ เมเร (Chevalier de Mire)